KP Page
Foreign Minister Hor Namhong told reporters that Cambodia would work toward regional integration in 2015.
บทความผมเรื่องความสัมพันธ์ไทยแ ละพม่าวันนี้ครับ My article on Thai-Burmese relations, published today in Democratic Voice of Burma (DVB):
http://www.dvb.no/analysis/ turning-thailands-buffer-zone-i nto-a-battlefield/19318
http://www.dvb.no/analysis/
KP Page
shared สุรพศ ทวีศักดิ์'s status.
เรื่องที่สนใจในชนชั้นสูงนั้น มีในทุกวงการ ...
Tuesday 2011.12.20
ผมเหนื่อยใจกับประวัติศาสตร์ดนตรีนาฏศิลป์ที่วนเวียน อ่านแล้วอ่านอีกกับตำนานสดุดี หม่อมฉวีวาด ปราโมช คุณยายแพน เรืองนนท์ คุณครูหลวงประดิษฐไพเราะ หรือ"กรมศิลปากร" ว่าคือต้นตอการเผยแพร่ดนตรีไทย-นาฏศิลป์แนวศักดินาของกรุงสยามที่มีบทบาทครอบงำรูปแบบนาฏศิลป์ดนตรีกัมพูชายุคล่าอาณานิคม
น่าแปลกว่าเราไม่ค่อยสนใจบันทึกความรู้ของกลุ่มชาวบ้านท้องถิ่นมากนัก ว่าการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมดนตรีละครข้ามไปมานั้น เกิดขึ้นและคลี่คลายอย่างไร นอกรั้ววังหลวงแห่งกรุงพนมเปญ ทำไมไม่มีใครสนใจพื้นที่ชายขอบ ที่มีวัฒนธรรมเชื่อมผู้คนสองฟากฝั่งเอาไว้บ้าง ไม่มีนักประวัติศาสตร์พูดถึงความเป็นจริงในธรรมชาติการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมข้ามพรมแดนที่ยืดยาวทั้งสองฝั่ง สุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีษะเกษ ตราด จันทบุรี อุบลราชธานี ปราจีนบุรี สระแก้ว เสียมเรียบ ศรีโสภณ พระตะบอง กัมปงธม ไพลิน เกาะกง จงกัล อุดรมีชัย ฯลฯ กันบ้าง กลับเอาแต่ยึดพนมเปญและบางกอกเป็นที่ตั้ง
ทำไมนักวิชาการดนตรีนาฏศิลป์ไทยยังต้องใช้ประวัติศาสตร์ฉบับราชสำนักกันอยู่เรื่อยๆ แม้แต่ช่วงสงครามและหลังสงคราม ก็ยังเน้นบทบาทของราชสำนักและดนตรีที่เป็นศูนย์กลางกันอยู่ และใช้เอกสารที่นักประวัติศาสตร์กลุ่มอคติกับเพื่อนบ้านมาเป็นฉบับอ้างอิงกันร่ำไป อยู่ไปอยู่มา ก็หาเรื่องตอกย้ำความเป็นรุ่นพี่กันเรื่อยๆ กรณีการด่าทอเขมรในนิตยสารผู้หญิงไฮโซ จนถึงการรุมแสดงความหวงแหนเอกลักษณ์ของชาติผ่านข่าวคราวการขึ้นทะเบียนมรดกโลกละครโขน-หนังสแบก ลำเลิกบุญคุณย้อนเวลาและพาลพะโลโกรธากันแบบเจ้าอาณานิคมไม่มีผิด
ไม่รู้ต้องรอไปอีกกี่ร้อยชาติ กว่าชื่อของคนเหล่านี้ อุม มงคล, นุท นาราง, ชินนารี อุง, สำอาง สัม, ซม ซวน, พอล คราวาท, จอร์จ กรอสลิเยร์, เดวิด พาร์สัน, ฌาร์ค บรูเนต์, อลัน เดอนีลู, ตราน ฮวัน เข, ตราง ฮวาง ไฮ, เทอรี่ มิลเลอร์, แคทเธอรีน กีช, เดนิส เฮย์วูด, คริสทอฟ ลอวีนี, มาร์ติน แบนฮัม, เจมส์ แบรนดอน, ปีเตอร์ เฟร็ชเชอร์, ยิม จำเริน, เฟร็ด ฟรัมเบิร์ก, ศูนย์ศิลปะอมฤตา, แอนเดอร์ จีราส, ฮิม โสภี ฯลฯ จะเป็นที่สนใจกันบ้างจากนักวิชาการดนตรีนาฏศิลป์รุ่นใหม่ ในโลกที่เปลี่ยนแปลง
คงจะต้องถึงเวลารื้อประวัติศาสตร์ดนตรีนาฏศิลป์แถวๆนี้กันหน่อยแล้ว? หรือเรายังต้องการที่จะครองความเป็นเจ้าอาณานิคมตัวจริงกันอยู่?
น่าแปลกว่าเราไม่ค่อยสนใจบันทึกความรู้ของกลุ่มชาวบ้านท้องถิ่นมากนัก ว่าการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมดนตรีละครข้ามไปมานั้น เกิดขึ้นและคลี่คลายอย่างไร นอกรั้ววังหลวงแห่งกรุงพนมเปญ ทำไมไม่มีใครสนใจพื้นที่ชายขอบ ที่มีวัฒนธรรมเชื่อมผู้คนสองฟากฝั่งเอาไว้บ้าง ไม่มีนักประวัติศาสตร์พูดถึงความเป็นจริงในธรรมชาติการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมข้ามพรมแดนที่ยืดยาวทั้งสองฝั่ง สุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีษะเกษ ตราด จันทบุรี อุบลราชธานี ปราจีนบุรี สระแก้ว เสียมเรียบ ศรีโสภณ พระตะบอง กัมปงธม ไพลิน เกาะกง จงกัล อุดรมีชัย ฯลฯ กันบ้าง กลับเอาแต่ยึดพนมเปญและบางกอกเป็นที่ตั้ง
ทำไมนักวิชาการดนตรีนาฏศิลป์ไทยยังต้องใช้ประวัติศาสตร์ฉบับราชสำนักกันอยู่เรื่อยๆ แม้แต่ช่วงสงครามและหลังสงคราม ก็ยังเน้นบทบาทของราชสำนักและดนตรีที่เป็นศูนย์กลางกันอยู่ และใช้เอกสารที่นักประวัติศาสตร์กลุ่มอคติกับเพื่อนบ้านมาเป็นฉบับอ้างอิงกันร่ำไป อยู่ไปอยู่มา ก็หาเรื่องตอกย้ำความเป็นรุ่นพี่กันเรื่อยๆ กรณีการด่าทอเขมรในนิตยสารผู้หญิงไฮโซ จนถึงการรุมแสดงความหวงแหนเอกลักษณ์ของชาติผ่านข่าวคราวการขึ้นทะเบียนมรดกโลกละครโขน-หนังสแบก ลำเลิกบุญคุณย้อนเวลาและพาลพะโลโกรธากันแบบเจ้าอาณานิคมไม่มีผิด
ไม่รู้ต้องรอไปอีกกี่ร้อยชาติ กว่าชื่อของคนเหล่านี้ อุม มงคล, นุท นาราง, ชินนารี อุง, สำอาง สัม, ซม ซวน, พอล คราวาท, จอร์จ กรอสลิเยร์, เดวิด พาร์สัน, ฌาร์ค บรูเนต์, อลัน เดอนีลู, ตราน ฮวัน เข, ตราง ฮวาง ไฮ, เทอรี่ มิลเลอร์, แคทเธอรีน กีช, เดนิส เฮย์วูด, คริสทอฟ ลอวีนี, มาร์ติน แบนฮัม, เจมส์ แบรนดอน, ปีเตอร์ เฟร็ชเชอร์, ยิม จำเริน, เฟร็ด ฟรัมเบิร์ก, ศูนย์ศิลปะอมฤตา, แอนเดอร์ จีราส, ฮิม โสภี ฯลฯ จะเป็นที่สนใจกันบ้างจากนักวิชาการดนตรีนาฏศิลป์รุ่นใหม่ ในโลกที่เปลี่ยนแปลง
คงจะต้องถึงเวลารื้อประวัติศาสตร์ดนตรีนาฏศิลป์แถวๆนี้กันหน่อยแล้ว? หรือเรายังต้องการที่จะครองความเป็นเจ้าอาณานิคมตัวจริงกันอยู่?
Surat Jongda มันก็ต้องล้างอคติเรื่องชนชาติให้สิ้นล่ะถึงจะทำได้ มันถูกปลูกฝังกันมานานทั้งเ ขาและเราไม่ว่าทั้งเจ้าอาณา นิคมฝรั่งเศสที่เสี้ยมให้เข มรเกียดไทยหรือประวัติศาสตร ์ไทยที่ย้ำให้เกียดเขมร แล้วจะทำอย่างไรได้เมื่อเรา ปลูกฝังค่านิยมเหล่านี้ในคน ไทย เมื่อไรคุณไปล้างคำด่าของคน กรุงเทพที่ติดปากว่าไอ้ลาว เสี่ยว เมื่อนั้นทันก็จะล้างอคติทั ้งมวลได้ เราสอนกันมาตั้งแต่สมัยใหนท ี่ยกตัวเองเป็นพระเอกที่ยิ่ งใหญ่ พม่าคือโจรทำลายอยุธยา ลาวกบถ เขมรเนรคุณ สิ่งเหล่านี้ปลูกฝังมาจนทุก วันนี้ เราต้องสลดใจทุกที่ทีเห็นเด ็กวันรุ่นกรุงเทพ ด่าว่าลาว เสี่ยว แม้แต่ตัวเองเขามาอยู่กับผู ้ดีบางกอกก็ได้รับคำบริภาษน ินทราเสมอว่าไอ้ลาวอีลาว
Tuesday at 9:22am ·
Surat Jongda ปล. เรื่องหม่อาเจ้าฉวีวาดนั้นไม่ได้เอาละครเจ้าจอมอำภาไปด อก เป็นการเขียนโม้ของคุณชายคึ กฤทธิ์ เพราะเจ้าจอมอัมพาทำละครเมื ่อร. 3 ไม่ตกมาถึงท่านฉวีวาด ละครนั้นที่ไปคือละครวังหน้ าของเจ้าจอมมารดาเอม ด้วยมีตัวละครที่ไปเป็นครูล ะครเจ้านโรดมหลายคนเช่นปริง และนำละครวังหน้าเรื่องพระส มุทของกรมพระราชวังบวรวิไชย ชาญไปเล่นจนเป็นที่นิยม. ครั้งกรมพระยาดำรงค์เสด็จเข มรในสมัยเจ้าสีสวัสดิ์ละครก ็เล่นเรื่อวพระสมุทถวาย คนไทยพวกละครมาเข้าเฝ้าหลาย คนที่ได้เป็นหม่อมในสมเด็จน โรดม ละครเรื่องพระสมุทมีอิทธพลต ่อมาจนกลายเป็นระบำอัปสรา เพราะระบำอัปสราเดิมเป็นการ รำในตอนนางบุษมาลีชมสวนในเร ื่องพระสมุท ต่อมาสมัยพระราชินีโกเม็คจึ งออกแบบเครื่องแต่งกายอย่าง อัปสรให้ใส่ จนเป็นรูปแบบระบำอัปสราจนถึ งทุกวันนี้
Tuesday at 9:31am ·
Surat Jongda แต่เดิมเขามิได้มีอคติอันใดเหมือนสมัยนี้ ไม่มีพรมแดนระหว่างไทยเขมร ไปมากันอย่างอิสระญาติพี่น้ องไปมาหาสู่กันตลอดละครไทยไ ปหากินที่เขมรบ้าง มโรีเขมรเข้ามาเล่นที่เมือง ไทยบ้าง แม้ปัจจุบันการเลื่อนไหลทาง วัฒนธรรมมันก็เชื่อมโยงกันเ สมอ ดูแต่ระบำกะลา จะให้เห็นวิวัฒนาการว่าเขมร เล่นระบำกะลา ไทยก็อปมาเป็นเรือมตะล็อก อีสานก็อปต่อเป็นเซิ้งกะโป๋ นั้นไง
Tuesday at 9:36am ·
KP Page
KP Page - 2011.12.23 - Public
By: Wanwan ที่รัก
นายกฯลายมือไม่สวยแล้วโดนด่า คุณคิดว่าแม่งแปลกหรอ? คุณจะเอาอะไรมากกับประเทศที่เหี ้ยคลานก็ลงข่าวหน้าหนึ่งได้? ผมว่านี่แม่งเรื่องโคตรปกติของส ังคมนี้เลย ไอ้ที่ผิดปกติก็คือ คุณแม่งเสือกเชื่อและคิดไปเองว่ าสังคมนี้มันปกติต่างหาก...
No comments:
Post a Comment