2011-02-25

R.มาฆบูชา


  • http://www.youtube.com/watch?v=k9MKyjcZZZQ


    หลวงพ่อทูลให้ธรรมเทศนาแก่ผู้เข้าปฎิบัติธรรมที่วันป่าบ้านค้อ ในโอกาสวันมาฆบูชา 2550 1/11 20070303
     

    www.youtube.com
    หลวงพ่อทูลให้ธรรมเทศนาแก่ผู้เข้าปฎิบัติธรรมที่วันป่าบ้านค้อ ในโอกาสวันมาฆบูชา 2550 1/11 20070303

    February 18 at 3:20am ·  ·  · Share

  • http://www.youtube.com/watch?v=2Vkifs-IUyY


    http://www.dmc.tv คำร้อง ธรรมรักษ์ ทำนอง/เรียบเรียง/ขับร้อง ปัญจสิขะ คำแปลภาษาอังกฤษ ดร.อนัญญา เมธมนัส ใช้เฉพาะสอนศีลธรรม
     

    www.youtube.com
    http://www.dmc.tv/ คำร้อง ธรรมรักษ์ ทำนอง/เรียบเรียง/ขับร้อง ปัญจสิขะ คำแปลภาษาอังกฤษ ดร.อนัญญา เมธมนัส ใช้เฉพาะสอนศีลธรรม

    February 18 at 3:19am ·  ·  · Share

  • http://en.wikipedia.org/wiki/Magha_Puja

    en.wikipedia.org
    Māgha Pūjā or Makha Bucha (Lao: ມະຄະບູຊາ; Thai: มาฆบูชา (Pronunciation); Khmer: មាឃបូជា) is an important religious festival celebrated by Buddhists in Thailand, Cambodia, and Laos on the full moon day of the third lunar month (this usually falls in February). The third lunar month is known in the T

    February 18 at 3:15am ·  ·  · Share

  • http://www.recovery.ac.th/article/magkapuja.htm

    www.recovery.ac.th
    In-house Training, Inhouse, One by One, Private Course, Group study, English Group, Group Lerning เรียนภาษาอังกฤษ ตัวต่อตัว Training Corporate Training In-house Training InhouseTraining เรียนต่อต่างประเทศ ศึกษาต่อ go inter เรียนภาษาอังกฤษที่บ้าน เรียนภาษาอังกฤษรูปแบบบริษัท ภาษาอังกฤษสำหรับบริษัท สอน

    February 18 at 3:11am ·  ·  · Share

      • Kanj Love ジャスミン 
        Magha Puja Day is one of the most important Buddhist celebrations which falls on the full moon day of the third lunar month (about last week of February or early of March).


        This day marks the great four events that took place during Lord Buddha's lifetime, namely;

        1250 Buddhist monks from different places came to pay homage to Lord Buddha at Valuwan Vihara in Rajgaha, the capital of Magaha State, each of his own initiative and without prior notification or appointment.

        all of them were the enlightened monks (or Arahantas)

        all of them had been individually ordained by Lord Buddha himself (Ehi Bhikkhu)

        They assembled on the full moon day of the third lunar month.

        February 18 at 3:14am · 

  • http://portal.in.th/i-dhamma/pages/8642/

    portal.in.th
    Papangkorn Wongchitwan878/2 ม.1 ต.คลองลานพัฒนา อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร 62180 E-mail : papangkorn.w@gmail.com

    February 18 at 3:07am ·  ·  · Share

      • Kanj Love ジャスミン 
        โอวาทปาฏิโมกขคาถา
        (หันทะ มะยัง โอวาทะปาฏิโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส.)


        สัพพะ ปาปัสสะ อะกะระณัง,
        การไม่ทำบาปทั้งปวง,
        กุสะลัสสูปะสัมปะทา,
        การทำกุศลให้ถึงพร้อม,
        สะจิตตะปะริโยทะปะนัง,
        การชำระจิตของตนให้ขาวรอบ,
        เอตัง พุทธานะสาสะนัง,
        ธรรมสามอย่างนี้ เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย,

        ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา,
        ขันติ คือความอดกลั้น เป็นธรรมเครื่องเผากิเลสอย่างยิ่ง,
        นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา,
        ผู้รู้ทั้งหลาย, กล่าวพระนิพพานว่าเป็นธรรมอันยิ่ง,
        นะ หิ ปัพพะชิโต ปะรูปะฆาตี,
        ผู้กำจัดสัตว์อื่นอยู่ ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิตเลย,
        สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต,
        ผู้ทำสัตว์อื่นให้ลำบากอยู่ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะเลย,

        อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต,
        การไม่พูดร้าย, การไม่ทำร้าย,
        ปาฏิโมกเข จะ สังวะโร,
        การสำรวมในปาฏิโมกข์,
        มัตตัญญุตา จะ ภัตตัสฺมิง,
        ความเป็นผู้รู้ประมาณในการบริโภค,
        ปันตัญจะ สะยะนาสะนัง,
        การนอน การนั่ง ในที่อันสงัด,
        อะธิจิตเต จะ อาโยโค,
        ความหมั่นประกอบในการทำจิตให้ยิ่ง,
        เอตัง พุทธานะสาสะนัง.
        ธรรมหกอย่างนี้ เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย

        February 18 at 3:09am · 

  • http://www.baanmaha.com/community/thread9356.html

    www.baanmaha.com
    โอวาทปาฏิโมกข์ โอวาทปาฏิโมกข์ หลักคำสอนสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือคำสอนอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ได้แก่ พระพุทธพจน์ ๓ คาถากึ่ง ที่พระพุทธเจ้าตรัสแก่พระ

    February 18 at 3:05am ·  ·  · Share

      • Kanj Love ジャスミン 
        สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิ


        ที่วัดผาเกิ้งของเด็กน้อยเวลาสวดมนต์ กะสิมีบท สวดโอวาทปาติโมกข์ นำจ้า...เด็กน้อยชอบบทนี้เพราะเป็นหัวใจของพระพุทธศานาจ้า


        สวดโอวาทปาติโมกข์

        สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง
        การไม่ทำบาปทั้งปวงหนึ่ง

        กุสะลัสสูปะสัมปะทา
        การทำบุญทำกุศลให้บริบูรณ์หนึ่ง

        สะจิตตะ ปะริโยทะปะนัง
        การทำจิตใจให้สะอาด ผ่องใสหนึ่ง

        เอตัง พุทธานะสาสะนัง
        สามอย่างดังที่ว่ามานี้ เป็นยอดคำสอนของพระพุทธเจ้า ทุก ๆ พระองค์

        ขันตี ประระมัง ตะโป ตีติกขา
        ความอดทนคือความอดกลั้น เป็นความเพียรเครื่องเผากิเลส อย่ายอดเยี่ยม

        นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา
        พระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ กล่าวพระนิพพานว่าเป็นธรรมยอดเยี่ยม

        นะ หิปัพพะชิโต ปะรูปะฆาติ
        ผู้ยังทำร้ายบุคคลอื่น และสัตว์อื่น ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิต ผู้ออกบวช

        สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต
        ผู้ยังเบียดเบียนบุคคลอื่น และสัตว์อืน ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะ ผู้สงบ

        อะนูปะวาโท
        การไม่นินทาว่าร้อยผู้อื่นหนึ่ง

        อะนูปะฆาโต
        การไม่ทำร้ายเบียดเบียนผู้อื่นหนึ่ง

        มัตตัญญุตา จะ ภัตตัสสมิง
        การรู้จักประมาณ ในการบริโภคอาหารหนึ่ง

        ปันตัญ จะ สะยะนาสะนัง
        การนั่งและการนนอน บนที่นั่งที่นอน อันสงบสงัดหนึ่ง

        อธิจิตเต จะ อาโยโค
        การประกอบความเพียร ในการทำจิตให้ประเสริฐสูงสุดหนึ่ง

        เอตัง พุทธานะสาสะนัง
        หกอย่างดังที่ว่ามานี้ เป็นยอดคำสอน ของพระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์

        *************

        February 18 at 3:05am · 

  • http://www.youtube.com/watch?v=xkCm1itAPfc

    www.youtube.com
    วันมาฆะบูชา Makabucha Day วันแห่งความรักในพุทธศาสนา วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 บรรดาพระสงฆ์ที่พระพุทธเจ้าบวชให้จำนวน 1250 รูป เอหิภิกขุอุปสัมปทาได้มาประชุมพร้อมกันที่เวฬุวันวิหาร กรุงราชคฤห์โดยมิได้นัดหมาย ซึ่งพระสงฆ์จำนวนดังกล่าวนี้ล้วนบรรลุเป็นพระอรหันต์ทุกพระองค์ผู้มีอภิญญา 6 (หมายถึง ความรู้ยิ่ง

    February 18 at 2:54am ·  ·  · Share

  • http://www.dhammajak.net/suadmon1/3.html

    www.dhammajak.net
    เว็บไซต์เผยแผ่คำสอนทางพระพุทธศาสนาออนไลน์

    February 18 at 2:49am ·  ·  · Share

      • Kanj Love ジャスミン หาบทสวดยาก อย่างนี้ต้องไปวัดสุทัศน์ มีสวดมนต์บทนี้แน่นอน
        February 18 at 2:51am · 

      • Kanj Love ジャスミン ปล. บทขัดโอวาทปาฏิโมกข์ กับ ปาฏิโมกข์ ไม่เหมือนกันนะจ๊ะ
        - ปาฏิโมกข์ ก็ที่พระทวนกันทุกวันพระใหญ่ขึ้น 15 ค่ำ
        ส่วน บทขัดโอวาทปาฏิโมกข์ ก็คือบทสวดมนต์ของโอวาทปาติโมกข์

        February 18 at 3:00am · 

  • http://www.kammatan.com/board/index.php?topic=41.0

    www.kammatan.com
    วันมาฆบูชา โอวาทปาฏิโมกข์ สำคัญอย่างไร แล้วควรปฏิบัติตนอย่างไร สวดมนต์บทไหน

    February 18 at 2:49am ·  ·  · Share

  • http://www.dhammathai.org/dhammapada/dp14.php

    www.dhammathai.org
    ๑. ยสฺส ชิตํ นาวชียติ ชิตมสฺส โน ยาติ โกจิ โลเก ตํ พุทฺธมนนฺตโคจรํ อปทํ เกน ปเทน เนสฺสถ ฯ ๑๗๙ ฯ

    February 18 at 2:44am ·  ·  · Share

      • Kanj Love ジャスミン 
        Hard is it to be born as a man,
        Hard is the life of mortals,
        Hard is it to hear the Truth Sublime,
        Hard as well is the Buddha's rise.


        Abstention from all evil,
        Cultivation of the wholesome,
        Purification of the heart;
        This is the Message of the Buddhas.

        February 18 at 2:46am · 

      • Kanj Love ジャスミン 
        Forbearance is the highest ascetic practice,
        'Nibbana is supreme'; say the Buddhas.
        he is not a 'gone forth' who harms another.
        He is not a recluse who molests another.


        To speak no ill,
        To do no harm,
        To observe the Rules,
        To be moderate in eating,
        To live in a secluded abode,
        To devote onself to meditation-
        This is the Message of the Buddhas.

        February 18 at 2:46am · 



  • th.wikipedia.org
    โอวาทปาติโมกข์ เป็นหลักคำสอนสำคัญของพระพุทธศาสนา เป็น "ปาติโมกข์" ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงตลอดปฐมโพธิกาล คือ 20 พรรษาแรก เฉพาะครั้งแรกในวันเพ็ญเดือนมาฆะ (เดือน 3) หลังจากตรัสรู้แล้ว 9 เดือน เป็นการแสดงปาติโมกข์ที่ประกอบด้วยองค์ 4 เรียก "จาตุรงคสันนิบาต" คือ

    February 18 at 2:38am ·  ·  · Share

      • Kanj Love ジャスミン 
        โอวาทปาฏิโมกข์มักถูกกล่าวถึงในแง่หลักธรรม 3 อย่างเดียวว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา อย่างไรก็ตามพระพุทธพจน์ 3 คาถากึ่ง อาจสรุปใจความได้เป็นสามส่วน คือ หลักการ 3 อุดมการณ์ 4 และวิธีการ 6 ดังนี้


        พระพุทธพจน์คาถาแรก
        ทรงกล่าวถึงอุดมการณ์อันสูงสุดของพระภิกษุและบรรพชิตในพระพุทธศาสนานี้ อันมีลักษณะที่แตกต่างจากศาสนาอื่น อันอาจเรียกได้ว่า อุดมการณ์ 4 ของพระพุทธศาสนา ได้แก่
        ความอดทนอดกลั้นเป็นสิ่งที่นักบวชในศาสนานี้พึงยึดถือและเป็นสิ่งที่ต้องใช้เมื่อประสบกับสิ่งที่ไม่ชอบใจทุกอย่างที่ต้องเจอในชีวิตนักบวช เช่น ประสงค์ร้อนได้เย็น ประสงค์เย็นได้ร้อน
        การมุ่งให้ถึงพระนิพพานเป็นเป้าหมายหลักของผู้ออกบวช มิใช่สิ่งอื่นนอกจากพระนิพพาน
        พระภิกษุและบรรพชิตในพระธรรมวินัยนี้(เช่นภิกษุณี สามเณร สามเณรี สิกขมานา)ไม่พึงทำผู้อื่นให้ลำบากด้วยการทำความทุกข์กายหรือทุกข์ทางใจไม่ว่าจะในกรณีใดๆ
        พระภิกษุตลอดจนบรรพชิตในพระธรรมวินัยนี้ต้องขอแก่ทายกด้วยอาการที่ไม่เบียดเบียน( คือการไม่เอ่ยปากเซ้าซี้ขอและไม่ใช้ปัจจัยสี่อย่างฟุ่มเฟือยจนเดือดร้อนทายก)

        พระพุทธพจน์คาถาที่สอง
        ทรงกล่าวถึง "หลักการอันเป็นหัวใจสำคัญเพื่อเข้าถึงจุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนาแก่พุทธบริษัททั้งปวงโดยย่อ" หรือ หลักการ 3 กล่าวกันเป็นเป็นการสรุปรวบยอดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอันเป็นแนวทางที่พุทธบริษัทพึงปฏิบัติ ได้แก่
        การไม่ทำบาปทั้งปวง
        การทำกุศลให้ถึงพร้อม
        การทำจิตใจให้บริสุทธิ์
        มีผู้อธิบายว่าทั้งสามข้อนี้อาจอนุมานเข้ากับ ศีล สมาธิ และปัญญา

        พระพุทธพจน์คาถาที่สาม
        หมายถึงวิธีการที่ธรรมทูตผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาถือเป็นกลยุทธ พระภิกษุที่ออกเผยแผ่พระพุทธศาสนาซึ่งมีเป็นจำนวนมากให้ใช้วิธีการเหมือนกันเพื่อจะได้เป็นไปในแนวทางเดียวกันและถูกต้องเป็นธรรม ได้แก่ วิธีการทั้ง 6
        การไม่กล่าวร้าย (เผยแผ่ศาสนาด้วยการไม่กล่าวร้ายโจมตีดูถูกความเชื่อผู้อื่น)
        การไม่ทำร้าย (เผยแผ่ศาสนาด้วยการไม่ใช้กำลังบังคับข่มขู่ด้วยวิธีการต่างๆ)
        ความสำรวมในปาฏิโมกข์ (รักษาความประพฤติให้น่าเลื่อมใส)
        ความเป็นผู้รู้จักประมาณในอาหาร (เสพปัจจัยสี่อย่างรู้ประมาณพอเพียง)
        ที่นั่งนอนอันสงัด (สันโดษไม่คลุกคลีด้วยหมู่คณะ)
        ความเพียรในอธิจิต (พัฒนาจิตใจเสมอมิใช่ว่าเอาแต่สอนแต่ตนเองไม่กระทำตามที่สอน

        February 18 at 2:39am · 

      • Kanj Love ジャスミン 
        ณ พระเวฬุวันมหาวิหาร กรุงราชคฤห์ หลังจากที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วประมาณ 9 เดือน ได้เกิดเหตุการณ์ที่เรียกว่า "จาตุรงคสันนิบาต" คือ การประชุมที่ครบองค์ 4 ได้แก่


        วันนั้นเป็นวันดวงจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (วันเพ็ญเดือน 3)
        พระสงฆ์ 1,250 รูป มาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย
        พระสงฆ์ทั้งหมดล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ได้อภิญญา 6
        พระสงฆ์ทั้งหมดเป็นเอหิภิกขุ คือ เป็นผู้ที่พระพุทธองค์ประทานอุปสมบทด้วยพระองค์เอง

        ในวันนั้นพระพุทธองค์ได้ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ ซึ่งเป็นหลักสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา เพื่อเป็นแนวทางในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ใจความสำคัญแห่งพระโอวาทนั้น ได้แก่ ละเว้นความชั่วทั้งปวง ทำความดีให้ถึงพร้อม ทำจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใส วันเพ็ญเดือน 3 ถือเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เรียกว่า "วันมาฆบูชา"

        February 18 at 2:40am · 

  • The Dharmacakra (Sanskrit: धर्मचक्र; Pāli: Dhammacakka; Tibetan: འཀོར་ལོ། (chos kyi 'khor lo), Chinese: 法輪; pinyin: fălún), lit. "Wheel of Dharma" or "Wheel of Law" is a symbol that has represented dharma, the Buddha's teaching of the path to enlightenment, since the early period of Indian Buddhism. It is also sometimes translated as wheel of doctrine or wheel of law.

    en.wikipedia.org
    Four Noble TruthsDependent OriginationImpermanenceSuffering · Middle WayNon-self · EmptinessFive AggregatesKarma · RebirthSamsara · Cosmology

    February 18 at 2:29am ·  ·  · Share

      • Kanj Love ジャスミン The Dharmacakra symbol is represented as a chariot wheel (Sanskrit cakram) with eight or more spokes. It is one of the oldest known Buddhist symbols found in Indian art, appearing with the first surviving post-Harappan Indian iconography in the time of the Buddhist king Aśoka. The Dharmacakra has been used by all Buddhist nations as a symbol ever since. In its simplest form, the Dharmacakra is recognized globally as a symbol for Buddhism.
        February 18 at 2:32am · 

  • เราคนไทยไม่เคยรู้จักธงนี้เลย ซึ่งแปลกมาก เพราะเป็น Buddhist flag เหมือนกัน Thanks Sujarno Dhammasayo Wiroreso
    http://en.wikipedia.org/wiki/Buddhist_flag

    en.wikipedia.org
    The Buddhist flag is a flag designed in the late 19th century to symbolise and universally represent Buddhism. It is used by Buddhists throughout the world.

    February 18 at 2:25am ·  ·  · Share

      • Kanj Love ジャスミン 
        The Buddhist flag is a flag designed in the late 19th century to symbolise and universally represent Buddhism. It is used by Buddhists throughout the world.


        The flag was originally designed in 1885 by the Colombo Committee, in Colombo, Sri Lanka. The committee consisted of Ven. Hikkaduwe Sri Sumangala Thera (chairman), Ven. Migettuwatte Gunananda Thera, Don Carolis Hewavitharana (father of Anagarika Dharmapala), Andiris Perera Dharmagunawardhana (maternal grandfather of Anagarika Dharmapala), William de Abrew, Charles A. de Silva, Peter de Abrew, H. William Fernando, N. S. Fernando and Carolis Pujitha Gunawardena (secretary).

        This flag was published in the Sarasavi Sandaresa newspaper of 17 April 1885 and was first hoisted in public on Vesak day, 28 April 1885 at the Dipaduttamarama, Kotahena, by Ven. Migettuwatte Gunananda Thera. This was the first Vesak public holiday under British rule.
        Colonel Henry Steel Olcott, an American journalist, founder and first president of the Theosophical Society, felt that its long streaming shape made it inconvenient for general use. He therefore suggested modifying it so that it was the size and shape of national flags. Modifications were made accordingly, which were adopted. The modified flag was published in the Sarasavi Sandaresa of 8 April 1886 and first hoisted on Vesak day 1886.

        In 1889 the modified flag was introduced to Japan by Anagarika Dharmapala and Olcott—who presented it to the Emperor—and subsequently to Burma.

        At the inaugural conference of the World Fellowship of Buddhists on 25 May 1950, its founder President Professor G P Malasekera proposed that this flag be adopted as the flag of Buddhists throughout the world; this motion was unanimously passed.

        February 18 at 2:25am · 

      • Kanj Love ジャスミン 
        The five colors of the flag represent the six colours of the aura which Buddhists believe emanated from the body of the Buddha when he attained Enlightenment:


        Blue (Nila): Loving kindness, peace and universal compassion
        Yellow (Pita): The Middle Path - avoiding extremes, emptiness
        Red (Lohita): The blessings of practice - achievement, wisdom, virtue, fortune and dignity
        White (Odata): The purity of Dharma - leading to liberation, outside of time or space
        Orange (Manjesta): The Buddha's teachings - wisdom

        The sixth vertical band, on the fly, is made up of a combination of rectangular bands of the five other colours, and represents a compound of the other five colours in the aura's spectrum. This compound colour is referred to as Pabbhassara ('essence of light').

        February 18 at 2:26am · 


  • http://www.facebook.com/photo.php?fbid=10150091300080841&set=a.463775570840.244727.232780660840&ref=nf

    หลวงปู่สาม อกิญจโน

    "ผู้หวังความสุขสำราญแก่ตน ควรตั้งอยู่ในศีล 5 ประการนี้ ผู้ใดรักษาศีล ศีลก็รักษาผู้นั้นไม่ให้เดือดร้อนไม่ต้องรับโทษทุกข์เพราะทุศีลบุคคลจะถึงความดับกิเลสก็เพราะศีล"
    เปลวเทียน ส่องประทีป ชี้เส้นทาง แสงสว่าง อันเรืองงาม ส่องให้เห็น สิ่งที่ถูก และสิ่งผิด มองให้เป็น แสงที่เห็น ใช่อื่นใด "คำสอนอาจารย์"

  • http://www.facebook.com/photo.php?fbid=10150098544365825&set=a.10150098544160825.270763.129697635824&ref=nf

    One of the greatest emperors known to Indian history, Ashoka, was the grandson o...See More
    One of the greatest emperors known to Indian history, Ashoka, was the grandson of Chandragupta Maurya and the son of Bindusar. The land he ruled stretched from the Himalayas, Nepal and Kashmir to Mysore in the South. From Afghanistan in the N.E. to the banks of the River Brahmaputra in the East. In the West his territory covered Saurashtra and Junagarh. Ashoka's Reign Born in 294 BC as second son to Bindusar, the King of Patliputra, Ashoka was not heir apparent. After his father died, his elder brother Suman was to take over the reins of the Kingdom. But as most of the ministers found Ashoka more efficient, they helped him attain power. Ashoka was a good administrator and at first set about restoring peace in his kingdom. This took about 3 years, after which he formally accepted the throne and was crowned King in 273 BC. During his reign, the country made progress in terms of science and technology as well as advanced in medicine and surgery. Religion was emphasized and so the people were honest and straightforward and truthful. Stealing was unheard of. Ashoka, himself was a great philanthropist and worked day and night for the welfare of his people. He knew exactly what was going on in each part of his vast territory. He would not partake any of his meals until and unless he had fed a thousand Brahmins. The Kalinga War This was the first and last battle that Ashoka ever fought and serves as a watermark in his life as it changed his course forever. It was during this war that he earned the title Ashoka the Great. Kalinga was a prosperous little kingdom lying between the river Godavari and Mahanadi, close to the Bay of Bengal. It had an infantry of 60,000 men, 10,000 horsemen and 600 elephants. Ashoka wanted to capture this fertile land, and so had it surrounded. But the brave and loyal people of Kalinga did not want to lose their independence. A fierce battle followed, in which there were too many casualties. There were more than a lakh prisoners of war. In the midst of the battlefield, Ashoka stood with the wounded, crippled and the dead all around him. This was the consequence of his greed. A new light dawned on him, and he swore that he would never wage war again. Ashoka's Conversion Ashoka was initiated into Buddhism, after which his life was completely transformed. He religiously followed the principles of Buddhism - that of truth, charity, kindness, purity and goodness. He did his bit towards the propagation of this religion by engraving it's principles on pillars throughout his kingdom. The Ashoka pillars, as they are now called, were over 40 feet high and extremely heavy. He also attempted to spread this religion to Syria, Egypt and Macedonia, and sent his son Mahendra and daughter Sangamitra to Sri Lanka for this purpose. Ashoka opened charitable hospitals and dispensaries for the welfare of the poor. He planted trees to provide shade and opened inns for the shelter of travelers and laid out green parks and gardens to beautify his kingdom. Wells and tanks were also constructed for the benefit of his people. He believed in non-violence and so he banned the sacrifice of animals. Besides this he opened clinics for birds and animals too. His good works earned him the name of Devanamapriya Priyadarshi. Ashoka Chakra He died in 232 BC. After doing a great deal of good for his kingdom and the world at large. His fame has spread far and wide. To commemorate his rule and its implications the Government of India has adopted the Ashoka Chakra as its national symbol, which can be seen till today on the national flag.


No comments:

Post a Comment