ต้องถามว่า Who is this guy? มันเป็นใคร กูไม่เห็นรู้จัก แล้วค่าเครื่องบิน ใครจ่าย ...
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=387176111318918&set=a.114703855232813.7702.100000795977928
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=387176111318918&set=a.114703855232813.7702.100000795977928
KP Page
3:32 PM (edited) - Public
แม้ว่าปัจจุบันทั้งอภิสิทธิ์และซูจีจะมีจุดยืนทางการเมืองร่วมกันในฐานะผู้นำฝ่ายค้าน แต่สำหรับอนาคตนั้นคงเดาได้ไม่ยากว่าทั้งคู่จะยืนอยู่บนจุดที่แตกต่างกันเพียงไรบนเส้นทางการเมืองของทั้งสองประเทศ
ทั้งนี้ ผู้เขียนคงไม่มีเจตตนาที่จะถากถางหรือดูหมิ่นเพื่อให้คุณอภิสิทธิ์หรือพรรคประชาธิปัตย์ต่ำต้อยด้อยค่าประการใด เพียงแต่อยากทวงถามถึงจุดยืนทางการเมืองในฐานะประชาชนคนหนึ่งว่า โดยมโนธรรมสำนึกของคุณอภิสิทธิ์ที่เล่นการเมืองนั้น มีจุดยืนเพื่อ สิทธิ เสรีภาพ และประชาธิปไตย ดังเช่นที่นางอองซาน ซูจี ยืนหยัดและพร้อมที่จะแลกมาด้วยชีวิตหรือไม่ หากคำตอบคือ “ไม่” ผู้เขียนจะขอยกย่องหากคุณอภิสิทธิ์จะยอมรับว่าคุณไม่สามารถทำหน้าที่เช่นนั้นได้และเลือกที่จะเดินออกจากเส้นทางอาชีพนักการเมืองเพื่อไปทำอาชีพอื่นที่เหมาะสมยิ่งกว่า ไม่ใช่เอาตัวเองมาอยู่บนหน้าสื่อเคียงคู่กันบุคคลที่คนทั่วโลกยกย่องในความศรัทธาต่อสิทธิ เสรีภาพ และประชาธิปไตยเช่นนี้
ก็ยังหวังอีกว่านี่คงไม่ใช่การเข้าพบเพื่อให้มีพื้นที่สื่อทั่วโลกเพื่อประชาสัมพันธ์ตัวเองของนายอภิสิทธิ์แต่อย่างใด เพราะหากเป็นเช่นนั้นอาจจะก่อให้เกิดคำถามที่ตอบลำบากสำหรับคนไทยหากถูกชาวต่างชาติถามว่า “Who is this guy?”
http://prachatai.com/journal/2012/05/40776
ทั้งนี้ ผู้เขียนคงไม่มีเจตตนาที่จะถากถางหรือดูหมิ่นเพื่อให้คุณอภิสิทธิ์หรือพรรคประชาธิปัตย์ต่ำต้อยด้อยค่าประการใด เพียงแต่อยากทวงถามถึงจุดยืนทางการเมืองในฐานะประชาชนคนหนึ่งว่า โดยมโนธรรมสำนึกของคุณอภิสิทธิ์ที่เล่นการเมืองนั้น มีจุดยืนเพื่อ สิทธิ เสรีภาพ และประชาธิปไตย ดังเช่นที่นางอองซาน ซูจี ยืนหยัดและพร้อมที่จะแลกมาด้วยชีวิตหรือไม่ หากคำตอบคือ “ไม่” ผู้เขียนจะขอยกย่องหากคุณอภิสิทธิ์จะยอมรับว่าคุณไม่สามารถทำหน้าที่เช่นนั้นได้และเลือกที่จะเดินออกจากเส้นทางอาชีพนักการเมืองเพื่อไปทำอาชีพอื่นที่เหมาะสมยิ่งกว่า ไม่ใช่เอาตัวเองมาอยู่บนหน้าสื่อเคียงคู่กันบุคคลที่คนทั่วโลกยกย่องในความศรัทธาต่อสิทธิ เสรีภาพ และประชาธิปไตยเช่นนี้
ก็ยังหวังอีกว่านี่คงไม่ใช่การเข้าพบเพื่อให้มีพื้นที่สื่อทั่วโลกเพื่อประชาสัมพันธ์ตัวเองของนายอภิสิทธิ์แต่อย่างใด เพราะหากเป็นเช่นนั้นอาจจะก่อให้เกิดคำถามที่ตอบลำบากสำหรับคนไทยหากถูกชาวต่างชาติถามว่า “Who is this guy?”
http://prachatai.com/journal/2012/05/40776
ถ้าจะให้เปรียบเปรยก็อาจเป็นเหมือนแผ่นดินไหว (ทางการเมือง) ครั้งใหญ่ที่กระทบทั้งรัฐบาลเต็งเส่ง รัฐบาลยิ่งลักษณ์ และโครงสร้างเศรษฐกิจของไทย-พม่าไปในคราวเดียว โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ตลาดกุ้งมหาชัยนี้เอง
จากคำปราศรัยของซูจีมีแต่ความนอบน้อมถ่อมตน เน้นขอความร่วมมือให้คนพม่าอย่าสร้างปัญหากับประเทศไทย แต่เมื่อมองให้ลึกซึ้งลงไปกว่านั้นแล้ว ซูจีกำลังหยิบยกประเด็นปัญหาสำคัญของไทย-พม่าที่ถูกเพิกเฉยมานานขึ้นมาสู่ความสนใจของโลก (นี่คือภารกิจแรกของเธอในต่างประเทศด้วยซ้ำ)
ปัญหาแรงงานพม่าเป็นความสลับซับซ้อนที่สืบเนื่องมานาน ต้นเหตุของปัญหาเกิดจากระบอบการปกครองแบบรัฐบาลทหารของพม่าที่ไม่เอื้อต่อชนกลุ่มน้อย และมีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่ำ ทำให้คนพม่าต้องอพยพมายังประเทศไทยเพื่อทำมาหากิน ประกอบอาชีพหาเลี้ยงครอบครัวทั้งในไทยและในบ้านเกิดที่พม่า
อองซานซูจีในความทรงจำของคนทั้งโลกเป็นสตรีผอมบางที่ถูกกักขังในบ้านพักอย่างยาวนาน เป็น “สัญลักษณ์” ของการต่อสู้ทางการเมืองและเสรีภาพในพม่า แต่หลังจากการปราศรัยที่มหาชัย เธอก็เปลี่ยนจาก “สัญลักษณ์” ที่นั่งอยู่เฉยๆ ในบ้าน มาเป็น “นักการเมือง” ที่ต่อสู้เพื่อประโยชน์ของชาวพม่าอย่างเต็มตัวแล้ว
http://www.siamintelligence.com/aung-san-suu-kyi-burmese-labour-problem/
จากคำปราศรัยของซูจีมีแต่ความนอบน้อมถ่อมตน เน้นขอความร่วมมือให้คนพม่าอย่าสร้างปัญหากับประเทศไทย แต่เมื่อมองให้ลึกซึ้งลงไปกว่านั้นแล้ว ซูจีกำลังหยิบยกประเด็นปัญหาสำคัญของไทย-พม่าที่ถูกเพิกเฉยมานานขึ้นมาสู่ความสนใจของโลก (นี่คือภารกิจแรกของเธอในต่างประเทศด้วยซ้ำ)
ปัญหาแรงงานพม่าเป็นความสลับซับซ้อนที่สืบเนื่องมานาน ต้นเหตุของปัญหาเกิดจากระบอบการปกครองแบบรัฐบาลทหารของพม่าที่ไม่เอื้อต่อชนกลุ่มน้อย และมีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่ำ ทำให้คนพม่าต้องอพยพมายังประเทศไทยเพื่อทำมาหากิน ประกอบอาชีพหาเลี้ยงครอบครัวทั้งในไทยและในบ้านเกิดที่พม่า
อองซานซูจีในความทรงจำของคนทั้งโลกเป็นสตรีผอมบางที่ถูกกักขังในบ้านพักอย่างยาวนาน เป็น “สัญลักษณ์” ของการต่อสู้ทางการเมืองและเสรีภาพในพม่า แต่หลังจากการปราศรัยที่มหาชัย เธอก็เปลี่ยนจาก “สัญลักษณ์” ที่นั่งอยู่เฉยๆ ในบ้าน มาเป็น “นักการเมือง” ที่ต่อสู้เพื่อประโยชน์ของชาวพม่าอย่างเต็มตัวแล้ว
http://www.siamintelligence.com/aung-san-suu-kyi-burmese-labour-problem/
จาก บิ๊กบัง ทหารของในหลวง ถึง บิ๊กบัง ขายชาติ
http://www.siamintelligence.com/reconciliation-law-conflict/
http://www.siamintelligence.com/reconciliation-law-conflict/
KP Page
3:24 PM (edited) - Public
สมัครเข้าเป็นสมาชิกพรรคจำนวน 27 ราย
นายวราเทพ รัตนากร
นายวิเชษฐ เกษมทองศรี
นายวีระกานต์ มุสิกพงษ์
นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์
นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช
นายประสิทธิ์ จันทาทอง
นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร
นายธานี ยี่สาร
นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์
นพ.จาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
นายปกรณ์ บูรณุปกรณ์
นายเกรียง กัลป์ตินันท์
นายสุภรณ์ อัตถาวงศ์
นายพศ อดิเรกสาร
นายไพศาล จันทรภักดี
นายพินิจ จันทรสุรินทร์
พ.ต.ท.อดุลย์ บุญเศรษฐ
นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา
นายวัยโรจน์ พิพิธภักดี
นายพิมล ศรีวิกรม์
นายสมศักดิ์ คุณเงิน
นางสิริกร มณีรินทร์
นายชูชัย มุ่งเจริญพร
นายวีระกร คำประกอบ
นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
น.พ.ทศพร เสรีรักษ์
ส่วนแกนนำบางคนอย่างนายอดิศร เพียงเกษ บอกว่ายังไม่ต้องการสมัครตอนนี้เพราะยังต้องไปช่วยปราศรัยหาเสียงให้ผู้สมัครรับเลือกตั้ง อบจ. ในภาคอีกสาน ส่วนแกนนำหลายคนอย่าง นายจาตุรนต์ ฉายแสง นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา นายภูมิธรรม เวชยชัย และนายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล ยังไม่ได้เดินทางมาสมัครเป็นสมาชิกพรรค
http://www.siamintelligence.com/111-member-register-for-pheuthai/
นายวราเทพ รัตนากร
นายวิเชษฐ เกษมทองศรี
นายวีระกานต์ มุสิกพงษ์
นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์
นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช
นายประสิทธิ์ จันทาทอง
นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร
นายธานี ยี่สาร
นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์
นพ.จาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
นายปกรณ์ บูรณุปกรณ์
นายเกรียง กัลป์ตินันท์
นายสุภรณ์ อัตถาวงศ์
นายพศ อดิเรกสาร
นายไพศาล จันทรภักดี
นายพินิจ จันทรสุรินทร์
พ.ต.ท.อดุลย์ บุญเศรษฐ
นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา
นายวัยโรจน์ พิพิธภักดี
นายพิมล ศรีวิกรม์
นายสมศักดิ์ คุณเงิน
นางสิริกร มณีรินทร์
นายชูชัย มุ่งเจริญพร
นายวีระกร คำประกอบ
นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
น.พ.ทศพร เสรีรักษ์
ส่วนแกนนำบางคนอย่างนายอดิศร เพียงเกษ บอกว่ายังไม่ต้องการสมัครตอนนี้เพราะยังต้องไปช่วยปราศรัยหาเสียงให้ผู้สมัครรับเลือกตั้ง อบจ. ในภาคอีกสาน ส่วนแกนนำหลายคนอย่าง นายจาตุรนต์ ฉายแสง นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา นายภูมิธรรม เวชยชัย และนายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล ยังไม่ได้เดินทางมาสมัครเป็นสมาชิกพรรค
http://www.siamintelligence.com/111-member-register-for-pheuthai/
KP Page
3:25 PM (edited) - Public
พิชัย รัตตกุล อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เตือน!! อภิสิทธิ์รับผิดชอบให้มากขึ้น
http://www.siamintelligence.com/pichai-call-for-responsibility/
พิชัย รัตตกุล ประชาธิปัตย์สิ้นเกียรติ Hot Topic 31พค55
http://www.siamintelligence.com/pichai-call-for-responsibility/
พิชัย รัตตกุล ประชาธิปัตย์สิ้นเกียรติ Hot Topic 31พค55
THAILAND: Verdict in landmark freedom of expression case
Thu, 31/05/2012 - 11:15 | by prachatai
Asian Human Rights Commission
http://prachatai.com/english/node/3240
Thu, 31/05/2012 - 11:15 | by prachatai
Asian Human Rights Commission
http://prachatai.com/english/node/3240
The Power of Comparing the King to “Father” of the People
Pravit Rojanaphruk
Prachatai has posted a translation of one of the seven articles that have led to a claim of lese majeste against journalist Pravit Rojanaphruk.
As the police have demanded that Prachatai remove all of the seven articles originally published in Thai, PPT thinks it useful to republish this article so that readers can see how ultra-royalists use lese majeste to silence those who point out even the most obvious of mundane points about the monarchy. Not least, the lese majeste complaint against Pravit is an example of the failings and dangers that are the subject of the article.
https://thaipoliticalprisoners.wordpress.com/2012/05/31/this-is-lese-majeste/
Pravit Rojanaphruk
Prachatai has posted a translation of one of the seven articles that have led to a claim of lese majeste against journalist Pravit Rojanaphruk.
As the police have demanded that Prachatai remove all of the seven articles originally published in Thai, PPT thinks it useful to republish this article so that readers can see how ultra-royalists use lese majeste to silence those who point out even the most obvious of mundane points about the monarchy. Not least, the lese majeste complaint against Pravit is an example of the failings and dangers that are the subject of the article.
https://thaipoliticalprisoners.wordpress.com/2012/05/31/this-is-lese-majeste/
Readers will no doubt notice the use of blue gems for the stylized 80 (in Thai numerals) at the bottom of the logo? Many will see a significance in this that may not have been intended by those who put the design together. readers may recall the Wikileaks cable that mentioned the “curse of the blue diamond”
https://thaipoliticalprisoners.wordpress.com/2012/05/31/blue-diamonds/
https://thaipoliticalprisoners.wordpress.com/2012/05/31/blue-diamonds/
นิก นอสติทซ์ นักข่าว-ช่างภาพ กลางไฟขัดแย้ง"แดง-เหลือง"
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1338090642&grpid=&catid=02&subcatid=0201
ที่เสื้อเหลืองพูด ก็เป็นสิ่งที่น่ารับฟัง เรื่องการตรวจสอบนักการเมือง แต่การที่มาเรียกร้องเรื่อง มาตรา 7 การเสนอเรื่อง 70:30 นั้นไม่ใช่แล้ว การเรียกร้องแบบนี้เป็นสิ่งที่ถอยหลัง คือต้องถามว่าคุณจะเอาประชาธิปไตยหรือศักดินา ขณะที่คุณเรียกร้องประชาธิปไตย แต่กลับเรียกร้องวิธีการที่ไม่ใช่ประชาธิปไตย สำหรับสิ่งที่เสื้อแดงเรียกร้องเรื่องประชาธิปไตย โอกาสเท่าเทียม ทหารต้องออกจากการเมือง อันนี้เป็นเรื่องที่ถูกต้อง คือมันเป็นหลักสากลสำหรับประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มันไม่มีหรอกประชาธิปไตยแบบไทยๆ หรือประชาธิปไตยแบบเยอรมนีๆ ผมว่าคนที่พูดแบบนี้คือพวกที่ขี้เกียจคิด ไม่ยอมศึกษาประวัติศาสตร์ประเทศที่เขาผ่านมาแล้ว
ผมว่าสังคมไทยเปลี่ยนไปเยอะ ความรู้สึกกับความคิดการเมืองสมัยก่อนต้องยอมรับว่ารากหญ้าไม่ค่อยมี แต่ทุกวันนี้มีมากขึ้น หรือเมื่อก่อนคนรากหญ้าจะพูดถึงแต่เรื่อง พ.ต.ท.ทักษิณ อย่างเดียว แต่ตอนนี้ไม่ใช่แล้ว เขาก้าวข้าม พ.ต.ท.ทักษิณไปแล้ว เราจะเห็นอย่างชัดเจนที่คนเสื้อแดงก็เสียความรู้สึก ไม่เห็นด้วยกับวันรำลึก 2 ปีที่ผ่านมา ตอนที่ พ.ต.ท.ทักษิณโฟนอิน คนคิดเรื่องการเมืองมากขึ้น ไม่มองอยู่ที่ตัวบุคคลแล้ว
ประเทศไทย ถ้าจะเกิดการปรองดองจริงๆ เราต้องยอมรับความคิดที่แตกต่างได้ ต้องพูดคุยกัน อภิปรายกัน ในเมืองนอกที่เขาผ่านเรื่องนี้มาแล้วก็ยังมีความคิดแตกต่าง แต่เขาก็อยู่กันได้ มีทะเลาะกันบ้างเป็นธรรมดาของมนุษย์ ไม่มีที่ไหนเพอร์เฟกต์ เรามีขัดแย้งกัน
"แต่ก็ไม่ได้ปะทะกัน ฆ่ากันตายมากขนาดที่เมืองไทยเพิ่งประสบมา"
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1338090642&grpid=&catid=02&subcatid=0201
ที่เสื้อเหลืองพูด ก็เป็นสิ่งที่น่ารับฟัง เรื่องการตรวจสอบนักการเมือง แต่การที่มาเรียกร้องเรื่อง มาตรา 7 การเสนอเรื่อง 70:30 นั้นไม่ใช่แล้ว การเรียกร้องแบบนี้เป็นสิ่งที่ถอยหลัง คือต้องถามว่าคุณจะเอาประชาธิปไตยหรือศักดินา ขณะที่คุณเรียกร้องประชาธิปไตย แต่กลับเรียกร้องวิธีการที่ไม่ใช่ประชาธิปไตย สำหรับสิ่งที่เสื้อแดงเรียกร้องเรื่องประชาธิปไตย โอกาสเท่าเทียม ทหารต้องออกจากการเมือง อันนี้เป็นเรื่องที่ถูกต้อง คือมันเป็นหลักสากลสำหรับประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มันไม่มีหรอกประชาธิปไตยแบบไทยๆ หรือประชาธิปไตยแบบเยอรมนีๆ ผมว่าคนที่พูดแบบนี้คือพวกที่ขี้เกียจคิด ไม่ยอมศึกษาประวัติศาสตร์ประเทศที่เขาผ่านมาแล้ว
ผมว่าสังคมไทยเปลี่ยนไปเยอะ ความรู้สึกกับความคิดการเมืองสมัยก่อนต้องยอมรับว่ารากหญ้าไม่ค่อยมี แต่ทุกวันนี้มีมากขึ้น หรือเมื่อก่อนคนรากหญ้าจะพูดถึงแต่เรื่อง พ.ต.ท.ทักษิณ อย่างเดียว แต่ตอนนี้ไม่ใช่แล้ว เขาก้าวข้าม พ.ต.ท.ทักษิณไปแล้ว เราจะเห็นอย่างชัดเจนที่คนเสื้อแดงก็เสียความรู้สึก ไม่เห็นด้วยกับวันรำลึก 2 ปีที่ผ่านมา ตอนที่ พ.ต.ท.ทักษิณโฟนอิน คนคิดเรื่องการเมืองมากขึ้น ไม่มองอยู่ที่ตัวบุคคลแล้ว
ประเทศไทย ถ้าจะเกิดการปรองดองจริงๆ เราต้องยอมรับความคิดที่แตกต่างได้ ต้องพูดคุยกัน อภิปรายกัน ในเมืองนอกที่เขาผ่านเรื่องนี้มาแล้วก็ยังมีความคิดแตกต่าง แต่เขาก็อยู่กันได้ มีทะเลาะกันบ้างเป็นธรรมดาของมนุษย์ ไม่มีที่ไหนเพอร์เฟกต์ เรามีขัดแย้งกัน
"แต่ก็ไม่ได้ปะทะกัน ฆ่ากันตายมากขนาดที่เมืองไทยเพิ่งประสบมา"
No comments:
Post a Comment