ภาคเช้า สัมมนา "100 ปี กบฏประชาธิปไตย ร.ศ.130 - 80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย พ.ศ.2475"
วิทยากรประกอบด้วย
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ
ณัฐพล ใจจริง
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
ฉลอง สุนทราวานิชย์
ณ หอประชุมศรีบูรพาธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพฯ
อาทิตย์ 24 มิถุนายน2555
:100 ปี กบฎประชาธิปไตย ร.ศ.130
วิทยากรประกอบด้วย
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ
ณัฐพล ใจจริง
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
ฉลอง สุนทราวานิชย์
ณ หอประชุมศรีบูรพาธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพฯ
อาทิตย์ 24 มิถุนายน2555
:100 ปี กบฎประชาธิปไตย ร.ศ.130
เสวนา'100 ปี กบฏประชาธิปไตย ร.ศ.130'
ที่ห้องประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
13.00- 15.30 อภิปราย "80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย พ.ศ.2475" ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์-สุดสงวน สุธีสร-ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์-อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์-อภิชาต สถิตนิรามัย-มรกต เจวจินดา ไมยเออร์
http://thaienews.blogspot.com/2012/06/100-130-80-2475_13.html
100 ปี กบฏประชาธิปไตย ร ศ 130 80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย พ ศ 2475 ช่วงบ่าย 24 6 2012
ที่ห้องประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
13.00- 15.30 อภิปราย "80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย พ.ศ.2475" ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์-สุดสงวน สุธีสร-ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์-อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์-อภิชาต สถิตนิรามัย-มรกต เจวจินดา ไมยเออร์
http://thaienews.blogspot.com/2012/06/100-130-80-2475_13.html
100 ปี กบฏประชาธิปไตย ร ศ 130 80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย พ ศ 2475 ช่วงบ่าย 24 6 2012
งานสัมมนา "100 ปี กบฏประชาธิปไตย ร.ศ.130 - 80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย พ.ศ.2475"(SIAMESE-THAI POLITICS: FROM the 1912 COUP TO the 1932 REVOLUTION)
อาทิตย์ 24 มิถุนายน2555 (เวลา 9.00 - 18.00 น.)ณ หอประชุมศรีบูรพาธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ พระนคร
15.30-16.30 ถาม–ตอบ "ปัญหาข้ามศตวรรษ" ปราบ เลาหะโรจนพันธ์ (ถาม) เวียงรัฐ เนติโพธิ์ (ถาม) นิธิ เอียวศรีวงศ์ (ตอบ) ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (ตอบ) อัครพงษ์ ค่ำคูณ (ดำเนินรายการ)
100 ปี กบฏประชาธิปไตย ร ศ 130 80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย พ ศ 2475 ช่วงบ่าย part 2 24 6 2012
อาทิตย์ 24 มิถุนายน2555 (เวลา 9.00 - 18.00 น.)ณ หอประชุมศรีบูรพาธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ พระนคร
15.30-16.30 ถาม–ตอบ "ปัญหาข้ามศตวรรษ" ปราบ เลาหะโรจนพันธ์ (ถาม) เวียงรัฐ เนติโพธิ์ (ถาม) นิธิ เอียวศรีวงศ์ (ตอบ) ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (ตอบ) อัครพงษ์ ค่ำคูณ (ดำเนินรายการ)
100 ปี กบฏประชาธิปไตย ร ศ 130 80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย พ ศ 2475 ช่วงบ่าย part 2 24 6 2012
งานสัมมนา "100 ปี กบฏประชาธิปไตย ร.ศ.130 - 80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย พ.ศ.2475"(SIAMESE-THAI POLITICS: FROM the 1912 COUP TO the 1932 REVOLUTION)
อาทิตย์ 24 มิถุนายน2555 (เวลา 9.00 - 18.00 น.)ณ หอประชุมศรีบูรพาธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ พระนคร
16.30-17.00 ปัจฉิมกถา โดย วีระ ธีรภัทรานนท์
พิธีกรประจำวัน - สมฤทธิ์ ลือชัย
100 ปี กบฏประชาธิปไตย ร ศ 130 80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย พ ศ 2475 อ วีระ ธีรภัทรานนท์ 2 24 6 2012
อาทิตย์ 24 มิถุนายน2555 (เวลา 9.00 - 18.00 น.)ณ หอประชุมศรีบูรพาธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ พระนคร
16.30-17.00 ปัจฉิมกถา โดย วีระ ธีรภัทรานนท์
พิธีกรประจำวัน - สมฤทธิ์ ลือชัย
100 ปี กบฏประชาธิปไตย ร ศ 130 80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย พ ศ 2475 อ วีระ ธีรภัทรานนท์ 2 24 6 2012
KP Page
10:08 PM (edited) - Public
ศ/กโลกไม่ดี ยางก็ราคาตกเป็นธรรมดา ว่าแต่ว่า เท่าไหร่ถึงจะพอเพียง ... น่าคิดนะ ... เลิกตัดยาง มาปลูกข้าว ทำนา เลี้ยงปลา กันแบบพอเพียงจะดีกว่า จะได้ไม่เดือดร้อนอย่างในตอนนี้ ... จริงมั้ยจ๊ะ ...
อนาคตเมืองไทย ยางราคาตกแนวทางช่วยเหลือ ณัฐวุฒิ ไสยเกื้อ 25 6 2012
อนาคตเมืองไทย ยางราคาตกแนวทางช่วยเหลือ ณัฐวุฒิ ไสยเกื้อ 25 6 2012
ประวิตร โรจนพฤกษ์: ความทรงจำร่วมเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และการลืมของสังคม
Sat, 2012-06-23 22:06
สังคมไทยน่ากลัว เขาสามารถทำให้คนจำนวนมากลืมได้ว่า 24 มิถุนา เคยเป็นวันชาตินานกว่ายี่สิบปี – นี่เขาจะทำให้ประชาชนลืมอะไรอีกบ้างก็ไม่รู้
ปิดหูปิดตาปิดปาก ป้อนข้อมูลด้านเดียวอย่างไม่รู้จักพอเพียงยังไม่พอ พวกเขายังอยากให้ประชาชนลืมเหตุการณ์ประวัติศาสตร์บางเรื่องอีกต่างหาก
การที่ผู้คนโดยเฉพาะเสื้อแดงหันมาสนใจและให้ความสำคัญกับวันที่ 24 มิถุนายน หรือการที่คนไทยรุ่นใหม่ส่วนใหญ่ไม่เคยได้ยินเพลงชาติ 24 มิถุนายน ก็ไม่ใช่เหตุบังเอิญเช่นกัน
Sat, 2012-06-23 22:06
สังคมไทยน่ากลัว เขาสามารถทำให้คนจำนวนมากลืมได้ว่า 24 มิถุนา เคยเป็นวันชาตินานกว่ายี่สิบปี – นี่เขาจะทำให้ประชาชนลืมอะไรอีกบ้างก็ไม่รู้
ปิดหูปิดตาปิดปาก ป้อนข้อมูลด้านเดียวอย่างไม่รู้จักพอเพียงยังไม่พอ พวกเขายังอยากให้ประชาชนลืมเหตุการณ์ประวัติศาสตร์บางเรื่องอีกต่างหาก
การที่ผู้คนโดยเฉพาะเสื้อแดงหันมาสนใจและให้ความสำคัญกับวันที่ 24 มิถุนายน หรือการที่คนไทยรุ่นใหม่ส่วนใหญ่ไม่เคยได้ยินเพลงชาติ 24 มิถุนายน ก็ไม่ใช่เหตุบังเอิญเช่นกัน
“ประชาธิปไตยที่กษัตริย์อยู่ใต้รัฐธรรมนูญ” กับ “ประชาธิปไตยที่กษัตริย์เป็นประมุข”
เจตนารมณ์ของคณะราษฎร คือ ต้องการสถาปนาประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ซึ่งมีอยู่ 2 ทางเลือกคือ เป็นประชาธิปไตยระบบรัฐสภาที่ยังมีสถาบันกษัตริย์ แต่กษัตริย์องค์จะต้องอยู่ใต้กฎหมายธรรมนูญการปกครองของแผ่นดิน จะทำอะไรโดยลำพังไม่ได้ นอกจากความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร และเป็นประชาธิปไตยที่ประมุขของประเทศจะเป็นบุคคลสามัญซึ่งสภาผู้แทนราษฎรได้ตั้งขึ้น อยู่ในตำแหน่งตามกำหนดเวลา
และเมื่อรัชกาลที่ 7 ยอมรับ ก็เท่ากับว่าสยามประเทศได้เปลี่ยนการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็น “ระบอบประชาธิปไตยที่กษัตริย์อยู่ใต้รัฐธรรมนูญ” นับแต่บัดนั้น
ความเป็นประชาธิปไตยที่กษัตริย์อยู่ใต้รัฐธรรมนูญนั้นมีความหมายสำคัญว่า จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน (ไม่ใช่พวกเจ้ามีสิทธิยิ่งกว่าราษฎร เช่นที่เป็นอยู่) และจะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ
ความหมายของประชาธิปไตยแบบคณะราษฎร มีลักษณะคล้อยไปทางประชาธิปไตยแบบโลกสมัยใหม่ที่เรียกกันว่า “เสรีนิยมประชาธิปไตย” หมายถึงเจ้าของอำนาจคือประชาชน ซึ่งการใช้อำนาจนั้นเป็นไปตามกติกาเสียงข้างมาก แต่ “ขอบเขต” ของการใช้อำนาจต้องเคารพสิทธิ เสรีภาพของปัจเจกบุคคล เช่น จะอ้างเสียงข้างมากบังคับให้ทุกคนนับถือศาสนาเดียวกันไม่ได้
http://prachatai.com/journal/2012/06/41226
เจตนารมณ์ของคณะราษฎร คือ ต้องการสถาปนาประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ซึ่งมีอยู่ 2 ทางเลือกคือ เป็นประชาธิปไตยระบบรัฐสภาที่ยังมีสถาบันกษัตริย์ แต่กษัตริย์องค์จะต้องอยู่ใต้กฎหมายธรรมนูญการปกครองของแผ่นดิน จะทำอะไรโดยลำพังไม่ได้ นอกจากความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร และเป็นประชาธิปไตยที่ประมุขของประเทศจะเป็นบุคคลสามัญซึ่งสภาผู้แทนราษฎรได้ตั้งขึ้น อยู่ในตำแหน่งตามกำหนดเวลา
และเมื่อรัชกาลที่ 7 ยอมรับ ก็เท่ากับว่าสยามประเทศได้เปลี่ยนการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็น “ระบอบประชาธิปไตยที่กษัตริย์อยู่ใต้รัฐธรรมนูญ” นับแต่บัดนั้น
ความเป็นประชาธิปไตยที่กษัตริย์อยู่ใต้รัฐธรรมนูญนั้นมีความหมายสำคัญว่า จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน (ไม่ใช่พวกเจ้ามีสิทธิยิ่งกว่าราษฎร เช่นที่เป็นอยู่) และจะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ
ความหมายของประชาธิปไตยแบบคณะราษฎร มีลักษณะคล้อยไปทางประชาธิปไตยแบบโลกสมัยใหม่ที่เรียกกันว่า “เสรีนิยมประชาธิปไตย” หมายถึงเจ้าของอำนาจคือประชาชน ซึ่งการใช้อำนาจนั้นเป็นไปตามกติกาเสียงข้างมาก แต่ “ขอบเขต” ของการใช้อำนาจต้องเคารพสิทธิ เสรีภาพของปัจเจกบุคคล เช่น จะอ้างเสียงข้างมากบังคับให้ทุกคนนับถือศาสนาเดียวกันไม่ได้
http://prachatai.com/journal/2012/06/41226
performance นี้กระชากใจ ในขณะเดียวกันก็ขำแบบเสียดแปล๊บเข้าไปในใจ บังเกิดความเวทนาใน "คน" ผู้ไม่เคยรู้ตัวได้ถูกกำกับบทมาตั้งแต่อ้อนแต่ออกในสังคมนี้อย่างไร
โดย คำ ผกา
ที่มา มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับประจำวันที่ 22-28 มิถุนายน 2555
http://thaienews.blogspot.com/2012/06/2_23.html
วันที่ 24 มิถุนายน กลายเป็นวันธรรมดาๆ วันหนึ่งที่ไม่มีความหมายอะไรเลยมานานหลายทศวรรษ ไม่เพียงแต่กลายเป็นวันธรรมดาๆ วันหนึ่งที่ไม่สลักสำคัญอะไร ยังถูกบิดเบือนความหมายให้กลายเป็นเพียงวันที่ "คณะบุคคลคณะหนึ่งบังอาจฯ" ทั้งยังมีการตอกย้ำความรู้เรื่องว่าการสละราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นเพื่อคืนอำนาจให้ปวงชนชาวไทยมิใช่ให้ "กลุ่มคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง"
การอ้างพระราชดำรัสอย่างปราศจากบริบททำให้ คณะราษฎร กลายเป็น "ผู้ร้าย" ในประวัติศาสตร์ฉบับที่เป็น "ทางการ" และ จอมพล ป. พิบูลสงคราม อันเป็นผู้นำที่มีความเป็นประชาธิปไตยและ "รักชาติ" (ไม่ว่าจะในความหมายบวกหรือลบ) มากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย กลายเป็น ฟาสซิสต์จากปลายปากกาของนักประวัติศาสตร์ของ "ราชการ"
ประชาธิปไตยกลายเป็นสิ่งแปลกปลอม การเปลี่ยนแปลงการปกครองกลายเป็นเรื่องของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ทั้งที่ในงานวิจัยเรื่อง การปฏิวัติสยาม 2475 ของ นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ เสนอไว้ชัดเจนว่าปราศจากความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และภูมิปัญญาของชนชั้นกลางไทยที่เกิดใหม่หลายสิบปีก่อน 2475 การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากคณะผู้ก่อการ 100 คนจะไม่มีวันสำเร็จ
แต่ความเข้าใจเช่นนี้ก็ถูกทำให้ "หาย" ไปจากสังคมไทยแล้วแทนที่ด้วยวาทกรรม "คนไทยยังโง่ ยังไม่พร้อม สำหรับประชาธิปไตย"
คณะราษฎรที่ 2
โดย คำ ผกา
ที่มา มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับประจำวันที่ 22-28 มิถุนายน 2555
http://thaienews.blogspot.com/2012/06/2_23.html
วันที่ 24 มิถุนายน กลายเป็นวันธรรมดาๆ วันหนึ่งที่ไม่มีความหมายอะไรเลยมานานหลายทศวรรษ ไม่เพียงแต่กลายเป็นวันธรรมดาๆ วันหนึ่งที่ไม่สลักสำคัญอะไร ยังถูกบิดเบือนความหมายให้กลายเป็นเพียงวันที่ "คณะบุคคลคณะหนึ่งบังอาจฯ" ทั้งยังมีการตอกย้ำความรู้เรื่องว่าการสละราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นเพื่อคืนอำนาจให้ปวงชนชาวไทยมิใช่ให้ "กลุ่มคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง"
การอ้างพระราชดำรัสอย่างปราศจากบริบททำให้ คณะราษฎร กลายเป็น "ผู้ร้าย" ในประวัติศาสตร์ฉบับที่เป็น "ทางการ" และ จอมพล ป. พิบูลสงคราม อันเป็นผู้นำที่มีความเป็นประชาธิปไตยและ "รักชาติ" (ไม่ว่าจะในความหมายบวกหรือลบ) มากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย กลายเป็น ฟาสซิสต์จากปลายปากกาของนักประวัติศาสตร์ของ "ราชการ"
ประชาธิปไตยกลายเป็นสิ่งแปลกปลอม การเปลี่ยนแปลงการปกครองกลายเป็นเรื่องของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ทั้งที่ในงานวิจัยเรื่อง การปฏิวัติสยาม 2475 ของ นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ เสนอไว้ชัดเจนว่าปราศจากความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และภูมิปัญญาของชนชั้นกลางไทยที่เกิดใหม่หลายสิบปีก่อน 2475 การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากคณะผู้ก่อการ 100 คนจะไม่มีวันสำเร็จ
แต่ความเข้าใจเช่นนี้ก็ถูกทำให้ "หาย" ไปจากสังคมไทยแล้วแทนที่ด้วยวาทกรรม "คนไทยยังโง่ ยังไม่พร้อม สำหรับประชาธิปไตย"
คณะราษฎรที่ 2
อภิปราย “๑๐๐ ปี กบฏประชาธิปไตย ร.ศ. ๑๓๐” หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๕ รองศาสตราจารย์ฉลอง สุนทราวาณิชย์ ผู้ดำเนินรายการ และวิทยากรร่วมอภิปราย ดังนี้ ศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ รองศาสตราจารย์ ดร.สุธาชัย ยิ่มประเสริฐ อาจารย์ ดร. ณัฐพล ใจจริง และอาจารย์ ดร.เพ็ญพิสุทธิ์ อินทรภิรมย์
http://www.siamintelligence.com/one-hundred-years-of-democracy-revolutionary/
http://www.siamintelligence.com/one-hundred-years-of-democracy-revolutionary/
แด่ “เชษฐบุรุษ” และการอภิวัฒน์ 2475
“…แม้ว่าจะมีเหตุผลควรเชื่อถือก็ตาม พวกผู้ใหญ่มักจะถือเสียว่า ความเห็นของผู้น้อยนั้น จะดีหรือไม่ดีไม่สำคัญ หากสำคัญอยู่ที่ว่าจะถูกใจท่านหรือไม่ เมื่อเป็นเช่นนี้พวกผู้น้อยซึ่งอาจมีสติปัญญาดี ๆ ก็เกิดความท้อถอยไม่อยากแสดงความคิดความเห็น ทั้ง ๆ ที่ เชื่อแน่ว่าจะมีประโยชน์ต่อบ้านเมือง และเมื่อการบริหารราชการบ้านเมืองดำเนินไปตามความเห็นของพวกผู้ใหญ่ไม่กี่คน ซึ่งถ้าท่านเหล่านั้นมีความคิดเห็นอย่างเก่า ๆ และแคบ ๆ ด้วยแล้ว ก็อาจชักนำให้บ้านเมืองไปสู่ความเสื่อมและความล่มจมได้ง่าย”
พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
http://www.siamintelligence.com/dedicate-to-phot-phaholyothin/
“…แม้ว่าจะมีเหตุผลควรเชื่อถือก็ตาม พวกผู้ใหญ่มักจะถือเสียว่า ความเห็นของผู้น้อยนั้น จะดีหรือไม่ดีไม่สำคัญ หากสำคัญอยู่ที่ว่าจะถูกใจท่านหรือไม่ เมื่อเป็นเช่นนี้พวกผู้น้อยซึ่งอาจมีสติปัญญาดี ๆ ก็เกิดความท้อถอยไม่อยากแสดงความคิดความเห็น ทั้ง ๆ ที่ เชื่อแน่ว่าจะมีประโยชน์ต่อบ้านเมือง และเมื่อการบริหารราชการบ้านเมืองดำเนินไปตามความเห็นของพวกผู้ใหญ่ไม่กี่คน ซึ่งถ้าท่านเหล่านั้นมีความคิดเห็นอย่างเก่า ๆ และแคบ ๆ ด้วยแล้ว ก็อาจชักนำให้บ้านเมืองไปสู่ความเสื่อมและความล่มจมได้ง่าย”
พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
http://www.siamintelligence.com/dedicate-to-phot-phaholyothin/
สันติปรีดี: ชีวิตจริงที่ยิ่งกว่านิยายของปรีดี-พูนศุข พนมยงค์
เนื่องในโอกาสครบรอบ 80 ปีของการปฏิวัติสยาม 2475 ทางเว็บไซต์ Siam Intelligence ขอแนะนำหนังสือ “สันติปรีดี” นิยายอิงประวัติศาสตร์ สารคดีชีวิตของปรีดี พนมยงค์ ผู้นำสายพลเรือนและมันสมองของคณะราษฎร
http://www.siamintelligence.com/santi-pridi/
เนื่องในโอกาสครบรอบ 80 ปีของการปฏิวัติสยาม 2475 ทางเว็บไซต์ Siam Intelligence ขอแนะนำหนังสือ “สันติปรีดี” นิยายอิงประวัติศาสตร์ สารคดีชีวิตของปรีดี พนมยงค์ ผู้นำสายพลเรือนและมันสมองของคณะราษฎร
http://www.siamintelligence.com/santi-pridi/
Recalling the death of King Ananda-PPT
http://facthai.wordpress.com/2012/06/24/recalling-the-death-of-king-ananda-ppt/
http://facthai.wordpress.com/2012/06/24/recalling-the-death-of-king-ananda-ppt/
นิตยสาร สารคดี originally shared this post:
นิตยสาร สารคดี ปีที่ 28 ฉบับที่ 328 มิถุนายน 2555 - 80 ปี การเมืองไทย 2475-2555
ปาฐกถานำ : นิทานประชาธิปไตยไทย: ตำนานฐานรากของระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดย เกษียร เตชะพีระ และปฤณ เทพนรินทร์
ส่วนหนึงจากงานสัมมนา "100 ปี กบฏประชาธิปไตย ร.ศ.130 - 80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย พ.ศ.2475"(SIAMESE-THAI POLITICS: FROM the 1912 COUP TO the 1932 REVOLUTION) ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ วันที่ 24 มิ.ย.2555
จัดโดยหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์ ร่วมกับ มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์ฯ และสมาคมจดหมายเหตุสยาม
นิทานประชาธิปไตยไทย
ส่วนหนึงจากงานสัมมนา "100 ปี กบฏประชาธิปไตย ร.ศ.130 - 80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย พ.ศ.2475"(SIAMESE-THAI POLITICS: FROM the 1912 COUP TO the 1932 REVOLUTION) ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ วันที่ 24 มิ.ย.2555
จัดโดยหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์ ร่วมกับ มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์ฯ และสมาคมจดหมายเหตุสยาม
นิทานประชาธิปไตยไทย
KP Page
2:25 PM (edited) - Public
รายการ Divas Cafe ประจำวันที่ 25 มิถุนายน 2555
การเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตย สู่การเมืองสมัยใหม่ ผ่านประสบการณ์ของประเทศ ใน South East Asia ถึงสยามประเทศ โดย อ.ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์
http://shows.voicetv.co.th/divas-cafe/42781.html
http://www.dailymotion.com/video/xrqutv_yyyyyy-divas-cafe-yyyyyy-yy-25-y-y-2555_news
การเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตย สู่การเมืองสมัยใหม่ ผ่านประสบการณ์ของประเทศ ใน South East Asia ถึงสยามประเทศ โดย อ.ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์
http://shows.voicetv.co.th/divas-cafe/42781.html
http://www.dailymotion.com/video/xrqutv_yyyyyy-divas-cafe-yyyyyy-yy-25-y-y-2555_news
ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์: อมตภาพของสมบูรณาญาสิทธิราชย์
Fri, 2012-01-20 20:05
http://prachatai.com/journal/2012/01/38851
Fri, 2012-01-20 20:05
http://prachatai.com/journal/2012/01/38851
ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์: การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ต้องมาจากมวลชน
Sun, 2012-06-24 05:14
http://www.prachatai.com/journal/2012/06/41233
Sun, 2012-06-24 05:14
http://www.prachatai.com/journal/2012/06/41233
No comments:
Post a Comment