Kanj Segue - 5:53 PM - Public
Today marks the 60th anniversary of the queen’s reign.
- Comment - Hang out - Share
A whisky costing £100,000 a bottle is released to mark the 60th anniversary of the Queen's accession to the throne.
- Comment - Hang out - Share
The Aged P - or Aged Parent - from Great Expectations, is one of Charles Dickens's finest comic creations and is the sixth in the Telegraph pick of the best Charles Dickens characters.
- Comment - Hang out - Share
BRITAIN today marks the 200th anniversary of the birth of Charles Dickens, acclaimed as one of the finest writers of the English language and one whose novels have become enduring classics.
Events will take place around the country to mark the bicentenary, including a street party in the city of Portsmouth, on the southeast English coast, where he was born on February 7, 1812.
http://www.news.com.au/entertainment/books/happy-200th-birthday-charles-dickens/story-fn9412vp-1226264065948
Events will take place around the country to mark the bicentenary, including a street party in the city of Portsmouth, on the southeast English coast, where he was born on February 7, 1812.
http://www.news.com.au/entertainment/books/happy-200th-birthday-charles-dickens/story-fn9412vp-1226264065948
BRITAIN today marks the 200th anniversary of the birth of Charles Dickens, acclaimed as one of the finest writers of the English language and one whose novels have become enduring classics.
- Comment - Hang out - Share
The Prince of Wales and the Duchess of Cornwall will listen to a reading from Great Expectations to mark 200th anniversary of the birth of Charles Dickens.
- Comment - Hang out - Share
Kanj Segue - 5:27 PM - Public
Today is Monday, Feb. 6, the 37th day of 2012. There are 329 days left in the year.
Today’s Highlight in History
On Feb. 6, 1952, Britain’s King George VI died at Sandringham House in Norfolk, England; he was succeeded as monarch by his daughter, who became Queen Elizabeth II.
On Feb. 6, 1952, Britain’s King George VI died at Sandringham House in Norfolk, England; he was succeeded as monarch by his daughter, who became Queen Elizabeth II.
Today is Monday, Feb. 6, the 37th day of 2012. There are 329 days left in the year. On Feb. 6, 1952, Britain’s King George VI died at Sandringham House in Norfolk, England; he was succeeded as ...
- Comment - Hang out - Share
Britain's King George VI died sixty years ago today - making his eldest daughter, then 25, the head of seven different countries. She's now the head of 16 - and has ruled over no fewer than 32.
- Comment - Hang out - Share
อุ๊ยตาย ... คำถามนี้เขาถามได้ที่อังกฤษ แต่ที่เมืองไทยห้ามคิด ห้ามถาม ห้ามสงสัย ... สมกับเป็นประเทศตอแหลแลนจริงๆ
http://www.theatlantic.com/international/archive/2012/02/its-the-queens-60th-anniversary-why-is-britain-still-a-monarchy/252608/
http://www.theatlantic.com/international/archive/2012/02/its-the-queens-60th-anniversary-why-is-britain-still-a-monarchy/252608/
The British royal family is an expensive anachronism and little more.
- Comment - Hang out - Share
Pavin Chachavalpongpun
วันนี้ ควีน Elizabeth II ของสหราชอาณาจักร ฉลองการขึ้นครองราชย์ครบ 60 ปี (ครองราชย์ปี ค.ศ. 1952) ในพิธีขึ้นครองราชย์ (ซึ่งจัดในปีถัดมา) นั้น ควีนย้้าว่า สถาบันประชาธิปไตย (รัฐสภา) เสรีภาพในการแสดงความเห็น สิทธิของชนกลุ่มน้อย และความอดกลั้นต่อความคิดที่แตกต่างออกไป ถือเป็นส่วนหนึ่งของการดำรงชีวิตของคนในชาติ <<สมกับเป็นกษัตริย์ที่อยู่ภายใต้การปกครองแบบประชาธิปไตย>>
Pavin Chachavalpongpun แม้สหราชอาณาจักรจะผ่านวิกฤตมาหลายครั้ง แต่ควีนไม่แทรกแซงการเมืองแม้แต่ครั้งเดียว Queen Elizabeth has no political ambition
https://www.facebook.com/pavinchachavalpongpun/posts/380052142011733
http://www.france24.com/en/20120206-queen-elizabeth-uk-celebrates-60-years-throne-diamond-jubilee-windsor
วันนี้ ควีน Elizabeth II ของสหราชอาณาจักร ฉลองการขึ้นครองราชย์ครบ 60 ปี (ครองราชย์ปี ค.ศ. 1952) ในพิธีขึ้นครองราชย์ (ซึ่งจัดในปีถัดมา) นั้น ควีนย้้าว่า สถาบันประชาธิปไตย (รัฐสภา) เสรีภาพในการแสดงความเห็น สิทธิของชนกลุ่มน้อย และความอดกลั้นต่อความคิดที่แตกต่างออกไป ถือเป็นส่วนหนึ่งของการดำรงชีวิตของคนในชาติ <<สมกับเป็นกษัตริย์ที่อยู่ภายใต้การปกครองแบบประชาธิปไตย>>
Pavin Chachavalpongpun แม้สหราชอาณาจักรจะผ่านวิกฤตมาหลายครั้ง แต่ควีนไม่แทรกแซงการเมืองแม้แต่ครั้งเดียว Queen Elizabeth has no political ambition
https://www.facebook.com/pavinchachavalpongpun/posts/380052142011733
http://www.france24.com/en/20120206-queen-elizabeth-uk-celebrates-60-years-throne-diamond-jubilee-windsor
Queen Elizabeth II on Monday marked 60 years since ascending to the throne and beginning a reign marked by changing perceptions of the British monarchy. During her reign, there have been 12 British pr...
- Comment - Hang out - Share
การศึกษา "เอาแบบอย่าง" ประเทศประชาธิปไตยตะวันตก ซึงผมเป็นคนหนึ่งที่ยึดถือส่งเสริมมาโดยตลอด
ก่อนอื่น และทีสำคัญที่สุด คือ ศึกษา-เอาแบบอย่าง เรื่อง "อุดมการณ์" หรือ อุดมคติ ประชาธิปไตย ทีรองๆลงมาก็เรื่อง "การดำเนินการภาคปฏิบัติ" ในแง่การจัดระเบียบอำนาจรัฐต่างๆ (กษัตริย์พูดสด ไม่ได้อะไรแบบนั้น) ซึงรวมถึงเรื่องกฎหมายและอื่นๆ
แต่ไมใช่ว่า ในเรื่องหลัง นี้ ทุกเรือ่ง เป็นเรื่องที่เราควรเอาแบบอย่าง หรืออ้างอิงหรอกครับ
อ่ย่างกรณีสหรัฐ ซึงผมชื่นชม (admire) มาก เรื่องจารีต First Amendment (สิทธิในการแสดงออก) โดยเฉพาะหลังจากผ่านการตีความในช่วงทศวรรษ 1960s (คดี "หลักหมาย" เรื่อง นิวยอร์คไทมส์ กับ ซุลลิแวน ที่เคยพูดถึง)
ในเรื่องการจัดระเบียบอำนาจรัฐ หรือ กฎหมายจำนวนมาก ก็เป็นเรื่องที่วิจารณ์ได้ ควรวิจารณ์ (และมีคนวิจารณ์ ในประเทศนั้นเอง) เช่น เรือง Supreme Court หลายคนก็เห็นว่า มีสถานะที่มันแอนตี้หลักการประชาธิปไตยอยู่ เป็นต้น
ผมจึงรู้สึกเป็นเรื่องน่าเสียดายมากๆที่ นิติราษฎร์ ซึงในเรื่องอืนๆ มีความเข้าใจดีมากๆ กลับ "อ้างอิง" หรือ ถือเอาเรื่อง "ประมุขประเทศ ยังไงก็ต้องมีกฎหมายคุ้มครองพิเศษ (เรื่องหมิ่นประมาท)" เป็น "ฐาน" ในการเสนอข้อเสนอเรื่อง 112
(ไม่นับเรื่องปริบทประวัติศาสตร์ไทย ที่ผมว่า นิติราษฎร์ ไม่ได้ take into sufficient considerations)
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=292875027432450&id=100001298657012
Collapse this postก่อนอื่น และทีสำคัญที่สุด คือ ศึกษา-เอาแบบอย่าง เรื่อง "อุดมการณ์" หรือ อุดมคติ ประชาธิปไตย ทีรองๆลงมาก็เรื่อง "การดำเนินการภาคปฏิบัติ" ในแง่การจัดระเบียบอำนาจรัฐต่างๆ (กษัตริย์พูดสด ไม่ได้อะไรแบบนั้น) ซึงรวมถึงเรื่องกฎหมายและอื่นๆ
แต่ไมใช่ว่า ในเรื่องหลัง นี้ ทุกเรือ่ง เป็นเรื่องที่เราควรเอาแบบอย่าง หรืออ้างอิงหรอกครับ
อ่ย่างกรณีสหรัฐ ซึงผมชื่นชม (admire) มาก เรื่องจารีต First Amendment (สิทธิในการแสดงออก) โดยเฉพาะหลังจากผ่านการตีความในช่วงทศวรรษ 1960s (คดี "หลักหมาย" เรื่อง นิวยอร์คไทมส์ กับ ซุลลิแวน ที่เคยพูดถึง)
ในเรื่องการจัดระเบียบอำนาจรัฐ หรือ กฎหมายจำนวนมาก ก็เป็นเรื่องที่วิจารณ์ได้ ควรวิจารณ์ (และมีคนวิจารณ์ ในประเทศนั้นเอง) เช่น เรือง Supreme Court หลายคนก็เห็นว่า มีสถานะที่มันแอนตี้หลักการประชาธิปไตยอยู่ เป็นต้น
ผมจึงรู้สึกเป็นเรื่องน่าเสียดายมากๆที่ นิติราษฎร์ ซึงในเรื่องอืนๆ มีความเข้าใจดีมากๆ กลับ "อ้างอิง" หรือ ถือเอาเรื่อง "ประมุขประเทศ ยังไงก็ต้องมีกฎหมายคุ้มครองพิเศษ (เรื่องหมิ่นประมาท)" เป็น "ฐาน" ในการเสนอข้อเสนอเรื่อง 112
(ไม่นับเรื่องปริบทประวัติศาสตร์ไทย ที่ผมว่า นิติราษฎร์ ไม่ได้ take into sufficient considerations)
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=292875027432450&id=100001298657012
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุลได้เขียนว่าการศึกษา "เอาแบบอย่าง"... เข้าร่วม Facebook เพื่อติดต่อกับสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลและคนอื่นๆ ที่คุณอาจจะรู้จัก
- Comment - Hang out - Share
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล
ไอเดียที่ว่ว ยังต้องมีกฎหมายพิเศษเพื่อคุ้มครองประมุขรัฐในเรื่อง "หมิ่นประมาท" ที่หลายประเทศในภาคพื้นทวีปยุโรป (continental Europe - คือไม่รวมเกาะอังกฤษ) ยังมีอยู่ (ฝรังเศส, เยอะมันนี, เนเธอร์แลนด์, เดนมาร์ก ฯลฯ)
จริงๆ ไม่ใช่ไอเดียประชาธิปไตย เป็นไอเดียที่ elitist แอนตี้ประชาธิปไตยด้วยซ้ำ (ทำไม่จึงเป็น "ภาคพื้นทวีปยุโรป" มันไมใช่เรื่องบังเอิญเสียทีเดียว แต่อันนี้เป็นเรื่องยาว ต้องไว้ว่ากันโอกาสอื่น)
มันเป็นไอเดียหรือสิ่งที่ "ตกทอด" (relic) มาตั้งแต่ก่อนสมัยประชาธิปไตย
แม้แต่เรื่อง "คุ้มครองตำแหน่ง " (ไมใช่ คุ้มครองฐานันดร) ที่ อ.สาวตรีพูดถึงในวันที่ 15 ก็เหมือนกัน ทำไมประชาธิปไตยจะต้อง "คุ้มครองตำแหน่ง" เรื่อง "หมิ่นประมาท" (ย้ำ เรื่องหมิ่นประมาท นะ ไมใช่เรื่องอืน) ด้วยเล่า? "ตำแหน่ง" ในรัฐ มันสำคัญกว่าการเป็นคนธรรมดาตรงไหน ถึงต้องมีอะไรคุ้มครองพิเศษในเรื่อง "หมิ่นประมาท"? มันไม่ถูกต้องหรอกครับ ไม่เป็นประชาธิปไตย
(อันนี้ ต่อให้สมมุติว่า ข้อเสนอนิติราษฎร์ เป็นเรื่อง "คุ้มครองตำแหน่ง" จริงๆ อย่างที อ.สาวตรีว่า แต่ดังที่เขียนไปแล้วว่า จริงๆ ก็ไมใช่ด้วยซ้ำ เพราะถ้างั้น ทำไม ไม่เสนอให้คุ้มครอง "ตำแหน่ง" นายกฯ ประธานสภา ฯลฯ ด้วย อย่างในฝรังเศส?)
อันนี้ พูดแบบทัวไปเลย ไม่ต้องพูดถึงปริบทประวัติศาสตร์ของไทยด้วยซ้ำ ที่ไอเดียกษัตริย์นิยม ที่ถือว่า เจ้า ไม่=คนธรรมดา ฯลฯ มันครอบงำ เข้มข้นกว่าครึ่งศตวรรษ . . .(ผมจึงเสนอว่า ถ้าจะศึกษาบทเรียนต่างประเทศอะไร ต้องศึกษากรณีญี่ปุ่นมากกว่า ที่มีลักษณะการครอบงำของลัทธิกษัตริย์นิยมแบบนี้ในลักษณะไม่ต่างกับไทยนัก แม้แต่ มาตรา 8 ของไทย ก็เลียนแบบมาจากญี่ปุ่น)
ข้อเสนอของนิติราษฎร์ จึงมี "ฐานคิด" ที่ไม่ถูกต้องหรอกครับ
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=292869140766372&id=100001298657012
Collapse this postไอเดียที่ว่ว ยังต้องมีกฎหมายพิเศษเพื่อคุ้มครองประมุขรัฐในเรื่อง "หมิ่นประมาท" ที่หลายประเทศในภาคพื้นทวีปยุโรป (continental Europe - คือไม่รวมเกาะอังกฤษ) ยังมีอยู่ (ฝรังเศส, เยอะมันนี, เนเธอร์แลนด์, เดนมาร์ก ฯลฯ)
จริงๆ ไม่ใช่ไอเดียประชาธิปไตย เป็นไอเดียที่ elitist แอนตี้ประชาธิปไตยด้วยซ้ำ (ทำไม่จึงเป็น "ภาคพื้นทวีปยุโรป" มันไมใช่เรื่องบังเอิญเสียทีเดียว แต่อันนี้เป็นเรื่องยาว ต้องไว้ว่ากันโอกาสอื่น)
มันเป็นไอเดียหรือสิ่งที่ "ตกทอด" (relic) มาตั้งแต่ก่อนสมัยประชาธิปไตย
แม้แต่เรื่อง "คุ้มครองตำแหน่ง " (ไมใช่ คุ้มครองฐานันดร) ที่ อ.สาวตรีพูดถึงในวันที่ 15 ก็เหมือนกัน ทำไมประชาธิปไตยจะต้อง "คุ้มครองตำแหน่ง" เรื่อง "หมิ่นประมาท" (ย้ำ เรื่องหมิ่นประมาท นะ ไมใช่เรื่องอืน) ด้วยเล่า? "ตำแหน่ง" ในรัฐ มันสำคัญกว่าการเป็นคนธรรมดาตรงไหน ถึงต้องมีอะไรคุ้มครองพิเศษในเรื่อง "หมิ่นประมาท"? มันไม่ถูกต้องหรอกครับ ไม่เป็นประชาธิปไตย
(อันนี้ ต่อให้สมมุติว่า ข้อเสนอนิติราษฎร์ เป็นเรื่อง "คุ้มครองตำแหน่ง" จริงๆ อย่างที อ.สาวตรีว่า แต่ดังที่เขียนไปแล้วว่า จริงๆ ก็ไมใช่ด้วยซ้ำ เพราะถ้างั้น ทำไม ไม่เสนอให้คุ้มครอง "ตำแหน่ง" นายกฯ ประธานสภา ฯลฯ ด้วย อย่างในฝรังเศส?)
อันนี้ พูดแบบทัวไปเลย ไม่ต้องพูดถึงปริบทประวัติศาสตร์ของไทยด้วยซ้ำ ที่ไอเดียกษัตริย์นิยม ที่ถือว่า เจ้า ไม่=คนธรรมดา ฯลฯ มันครอบงำ เข้มข้นกว่าครึ่งศตวรรษ . . .(ผมจึงเสนอว่า ถ้าจะศึกษาบทเรียนต่างประเทศอะไร ต้องศึกษากรณีญี่ปุ่นมากกว่า ที่มีลักษณะการครอบงำของลัทธิกษัตริย์นิยมแบบนี้ในลักษณะไม่ต่างกับไทยนัก แม้แต่ มาตรา 8 ของไทย ก็เลียนแบบมาจากญี่ปุ่น)
ข้อเสนอของนิติราษฎร์ จึงมี "ฐานคิด" ที่ไม่ถูกต้องหรอกครับ
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=292869140766372&id=100001298657012
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุลได้เขียนว่าไอเดียที่ว่ว... เข้าร่วม Facebook เพื่อติดต่อกับสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลและคนอื่นๆ ที่คุณอาจจะรู้จัก
- Comment - Hang out - Share
No comments:
Post a Comment