บทสัมภาษณ์นาย David Streckfuss เรื่องกม.หมิ่น
เมื่อไม่นานมานี้นักวิ ชาการจากขอนแก่นนายเดวิด สตรัคฟัสส์ (David Streckfuss) ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกั บกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพที่ มีชื่อว่า “Truth on Trial in Thailand: Defamation, treason, and lese-majeste” ซึ่งจักพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ Routledge และนี้คือบทสัมภาษณ์ของนายเดวิด สตรัคฟัสส์ ต่อนายประวิทย์ โรจนพฤกษ์ เกี่ยวกับกฎหมายหมิ่ นพระบรมเดชานุภาพและเรื่องอื่นๆ
1. หลายคนที่สนับสนุนกฎหมายหมิ่ นพระบรมเดชานุภาพกล่าวว่าสถาบั นกษัตริย์เป็นสิ่งที่พิเศษดังนั ้นกฎหมายนี้จึงมีความจำเป็น คุณคิดอย่างไร
คำถามที่ชัดเจนคือ “หากสถาบันกษัตริย์ไทยเป็นที่รั กของคนหมู่มาก เหตุใดกฎหมายที่เข้มงวดอย่ างมากในประวัติศาสตร์โลกปัจจุบั นอย่างกฎหมายหมิ่นจึงมี ความจำเป็น?” อาจจะใช่ที่สถาบันเป็นสิ่งพิเศษ ดังนั้นจึงต้องมีกฎหมายมาปกป้อง แต่ในหลายกรณี กฎหมายนี้เป็นอุปสรรคโดยตรงต่ อความปรารถนาในระบอบประชาธิ ปไตยของคนไทยส่วนใหญ่ การเชื่อว่าอะไรคือสิ่งพิเศษนั้ นก่อให้เกิดความรู้ที่เรียกว่า exceptionalism อันนำไปสู่การไม่ยอมรับรู้ ความเป็นไปและประวัติศาสตร์ ของประเทศอื่นในโลกโดยง่าย
2. คนไทยบางคนอ้างว่าชาวต่างชาติ ไม่เข้าใจและไม่สามารถเข้าใจสั งคมไทยได้ จริงหรือไม่ที่หนังสือของคุณคื ออีกตัวอย่างที่แสดงมุ มมองของคนนอกที่“ไร้เดียงสา”?
ทุกวันนี้ ผมไม่ค่อยแน่ใจว่าจะมีใครเข้ าใจว่าอะไรกำลังเกิดขึ้นในสั งคมไทยอย่างแท้จริงหรือเปล่า ไม่ว่าจะเป็นคนไทยหรือชาวต่ างชาติ วาทกรรเกี่ยวกั บประเทศไทยและความเป็นไทยได้ก้ าวไปสู่ดินแดนปริศนา ( terra incognita) ดังนั้นบางทีอาจจะไม่มีใครมีมุ มมองที่ดีกว่าใครอีกต่อไป ผมคิดว่าหนังสือของผมได้ชื่ นชมและอธิบายถึงลั กษณะเฉพาะของรากเหง้าทางประวัติ ศาสตร์การรับรู้ความจริงของคน “ไทย” โดยสรุปหนังสือได้วิเคราะห์ และอธิบายระบบความเป็น “ไทย” ที่กำลังเผชิญหน้ากั บระบบกฎหมายสากลและวาทกรรมเรื่ องสิทธิมนุษยชนในยุคสมัยใหม่ ผมจะไม่ขอกล่าวว่ามุมมองในหนั งสือเป็น “มุมมองที่ถูกต้อง” เพราะเป็นเพียงมุมมองเดียว แต่ผมหวังว่ามุมมองนี้จะสร้ างเสียงสะท้อนในกลุ่มคนที่อาศั ยอยู่ในประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นชาวไทยหรือต่างชาติ และผู้ที่ต้องการสิ่งที่ดีที่สุ ดสำหรั บประเทศไทยและประชาชนไทยอย่ างแท้จริง
3. หลายสิบปีก่อน สื่อกระแสหลักเคยรายงานและเขี ยนวิพากษ์วิจารณ์สถาบันกษัตริย์ แต่ในปัจจุบัน สื่อเหล่านี้กลับหลีกเลี่ยงที่ จะเขียนหรือรายงาน หรือแม้แต่ข้อความวิพากษ์วิ จารณ์เล็กน้อยโดยปราศจากการตั้ งคำถาม คุณจะอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ อย่างไร
3. หลายสิบปีก่อน สื่อกระแสหลักเคยรายงานและเขี
มี 2-3ปัจจัยที่อาจจะอธิบายถึ งปรากฏการณ์นี้ อย่างแรกคือการเพิ่ มโทษกฎหมายหมิ่น หลังจากการฆ่าหมู่ในวันที่ 6 ตุลาคม กลุ่มเผด็จการทหารได้เพิ่ มโทษจำคุกเป็น 3-15ปี ต่อความผิดหนึ่งกระทง โทษจำคุกที่เพิ่มเป็นสองเท่านี้ เทียบเท่ากับโทษจำคุกข้อหาหมิ่ นเมื่อครั้งที่ประเทศไทยยั งคงปกครองด้วยระบอบสมบูรณายาสิ ทธิราชย์ อาจจะเป็นไปได้ว่า การเคลื่อนไหวไปสู่ประชาธิ ปไตยในช่วงต้นยุค 60 ถอยหลังและมีการสร้างสถาบันให้ เป็นสิ่งสูงสุด สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้การอภิ ปรายเรื่องปัญหาการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมเป็นเรื่องยากและยั งส่งผลให้ประเทศสูญเสี ยบรรยากาศของศิลปะและสติปั ญญาอย่างที่ควรจะเป็น และปฏิเสธไม่ได้ว่ากฎหมายหมิ่ นส่งผลกระทบต่อสื่อมวลชน แต่สื่อกระแสหลักล้มเหลวที่จะต่ อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งเสรี ภาพของการแสดงออก
ในช่วงปี 1890 สื่อในเยอรมันได้ พยายามรายงานเรื่องคดีหมิ่ นสถาบันที่มีกว่า 500คดีในแต่ละปี บรรณาธิการหนังสือพิมพ์หลายคนถู กลงโทษจำคุกปีหรือสองปี แต่หลังจากที่พวกเขาถูกปล่อยตัว พวกเขายังคงท้ าทางกฎหมายโดยการนำเสนอเรื่ องเดิม แม้ว่าหลังจากนั้นพวกเขาจะถู กลงโทษจำคุกอีกก็ตาม ในบางครั้งแม้จะมีคนกล่าวว่ าการคุกคามทางด้านสิทธิเสรี ภาพในประเทศไทยนั้นเป็นสิ่งที่ เข้าใจได้เพราะประเทศไทยเริ่ มจะมีระบอบประชาธิปไตยเพียงแค่ 80ปีเท่านั้น แต่ในปี 1890 ระบอบประชาธิปไตยในประเทศเยอรมั นนั้นมีอายุน้อยกว่ าในประเทศไทยขณะนี้ แต่สื่อเยอรมันกลับแสดงพลั งและจุดยืนของตนเอง
ประเทศไทยไม่สามารถอ้างได้ว่ าเป็นประเทศประชาธิปไตยในขณะที่ มีการจับกุมคนกว่าร้ อยคนเพราะพวกเขาเหล่านั้ นแสดงความคิดเห็นของตนเอง อาจจะชัดเจนกว่าที่จะกล่าวว่ าประเทศไทยไม่ต่างจากประเทศพม่า เพราะเพิกเฉยต่อมาตรฐานสิทธิมนุ ษยชนสากลอย่างสิ้นเชิง และข้ออ้างที่ว่าประเทศไทยใช้ “ระบอบประชาธิปไตยแบบไทยๆ” เป็นเพียงข้ออ้างของกองทัพที่ จะกระทำการใดๆโดยไม่ต้องรับผิด ปัญหาหลักคือการไม่มีเสรี ภาพในการแสดงออกและการนิ รโทษกรรมคือการพยายามลบล้ างความผิดในอดีตออกไป
ในช่วงปี 1890 สื่อในเยอรมันได้
ประเทศไทยไม่สามารถอ้างได้ว่
4. เหตุใดสังคมจึงไม่สามารถสร้ างความเห็นร่วมกันในกรณี ของกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ?
ในยุค 70 ฝ่ายขวาได้สร้างความแตกแยกในสั งคมไทยด้วยการกล่าวหาฝ่ายตรงข้ ามว่าเป็น “คอมมิวนิสต์” หรือ “ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์” ในปัจจุบันการกระทำอันถือว่าเป็ นกบฏคือกาัรรัับเอาความคิ ดแบบสาธารณรัฐหรือแม้แต่การไม่ เิทิดทูนสถาบันกษัตริย์อย่างสู งสุด และทุกวันนี้ฝ่ ายขวาในประเทศไทยยังพยายามนั บรวมบุคคลที่ต้องการปฏิรูปสถาบั นกษัตริย์ หรือแม้แต่บุคคลที่ตั้งข้อสงสั ยในกฎหมายหมิ่นว่าเป็นกบฏด้ วยเช่นกัน และภายใต้เงื่อนไขนี้ ความเห็นร่วมกันคือสิ่งที่เป็ นไปไม่ได้ และแนวโน้มทางประวัติศาสตร์ในสั งคมไทยจึงนำไปสู่การใส่ร้ายป้ ายสี ประเทศไทยถูกแบ่งแยกเป็นกลุ่ มคนที่รักชาติและกลุ่มกบฏ
5. คนที่นิยมเจ้าบางคนเชื่อว่ าหากไม่มีกฎหมายหมิ่น สถาบันกษัตริย์จะสั่นคลอน คุณคิดว่าความกังวลนี้จริงเท็ จแค่ไหน
การใช้กฎหมายหมิ่นเพื่อที่จะหยุ ดการวิพากษ์วิจารณ์ การแสดงความคิดเห็น และการตรวจสอบจากสังคม หรือขัดขวางหลักพื้ นฐานของระบอบประชาธิปไตย แสดงให้เห็นว่าระบบได้สั่ นคลอนแล้ว กฎหมายหมิ่นและการใช้กฎหมายหมิ่ นเป็นการสร้างความไม่มั่นคงให้ กับสถาบัน เพราะทำให้เกิดการปกปิดความจริ งของสถานการณ์ ผมเชื่อว่าความจริงจะทำให้สั งคมไทยที่แม้ว่าจะเกิ ดความแตกแยกแล้วก็ ตามจะสามารถรอดจากวิ กฤตและอาจจะมีความเข้มแข็งขึ้ นได้ บุคคลที่ต้องการจะปกป้องสถาบั นกษัตริย์จากการตรวจสอบสั งคมทำให้สถาบันอ่อนแอและเป็นอั นตรายต่ออนาคตของสถาบัน
6. มีอะไรเป็นพิเศษเกี่ยวกับการจั บกุมผอ.ประชาไท หนังสือออนไลน์อย่างจีรานุช เปรมชัยพรภายใต้กฎหมายหมิ่นหรื อไม่
การจับกุมจีรานุชสร้างความกั งวลในการจับกุมบุคคลภายใต้ กฎหมายหมิ่น ประการแรกคือ ตำรวจยอมรับว่าพวกเขามีหมายจั บจีรานุชนานกว่าปีก่อนที่จะจั บกุมเธอที่สนามบิน ตำรวจอ้างว่าต้องใช้วิธีการดั งกล่าวเพราะคดีดังกล่าวมีความร้ ายแรง อันที่จริง หากคดีดังกล่าวร้ายแรงจริง ตำรวจมีเวลาอย่างเหลือเฟือที่ จะจับกุมจีรานุชที่สำนั กงานของเธอซึ่งเป็นสถานที่เดิ มที่เธอเคยถูกจับกุมก่อนหน้านี้ แทนที่จะจับกุมเธอตอนที่เธอเดิ นทางกลับจากต่างประเทศ จีรานุชอาจจะเป็นบุคคลที่สี่หรื อห้าที่ถูกจับกุมอย่างอึกทึกครึ กโครมทั้งที่ไม่จำเป็น และประการที่สองคือ นี่คือตัวอย่างของการขยายการใช้ กฎหมายหมิ่นโดยการใช้พรบ.คอมพิ วเตอร์
7. เนื่ องจากความชราภาพของพระบาทสมเด็ จพระเจ้าอยู่หัว และความกังวลเกี่ยวกับการสืบสั นตติวงศ์ รวมถึงปัญหาการเมืองในปัจจุบัน มีแนวโน้มที่การดำเนินคดีหมิ่ นเพิ่มขึ้นหรือไม่
เป็นเรื่องที่น่าเศร้าว่า ในวิกฤติการเมืองนี้ กฎหมายหมิ่นได้กลายเป็นข้อหาหลั กที่ใช้จับกุมฝ่ายตรงข้ ามทางการเมือง โดยเฉพาะการจับกุมคนเสื้อแดงหรื อคนที่ถูกมองว่าเห็นใจคนเสื้ อแดง กฎหมายหมิ่นได้กลายเป็นมากกว่ าการข่มขู่ที่ซ้อนเร้น กว่าห้าปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2548 ถึง 2552 ศาลชั้นต้นประเทศไทยรับพิ จารณาคดีหมิ่นกว่า 430คดี ซึ่งถูกตัดสินไปแล้ว 231คดี อีก 39คดีได้รับการพิจารณาในศาลอุ ทธรณ์ และ 9คดีโดยศาลฎีกา จำนวนคดีหมิ่นเพิ่มสูงขึ้นเป็ นประวัติการณ์ในรัฐบาลชุดปัจจุ บัน และในปี 2552 มีคดีจำนวน 164คดีขึ้นสู่การพิจารณาในศาลชั ้นต้น การบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่ งครัดต่อการแสดงความคิดเห็นที่ ปราศจากความรุนแรงทำให้เป็นเรื่ องยากที่ประเทศไทยจะอ้างว่าเป็ นประเทศประชาธิปไตย เพราะการใช้กฎหมายหมิ่นขัดแย้ งกับความพยายามในการสร้ างความสมานฉันท์ อันที่จริงแล้วกฎหมายหมิ่ นและการบังคับใช้เป็นสิ่งสำคั ญที่ขัดขวางกระบวนการสมานฉันท์
8. ในหนังสือของคุณได้กล่าวว่ากลุ่ มอำมาตย์พยายามที่จะ “แช่แข็งวัฒนธรรมไทยให้เป็นเรื่ องตำนาน” ทำไมพวกเขาถึงพยายามทำเช่นนั้น?
ผมกล่าวว่าวัฒนธรรมที่มี การละเว้นโทษให้แก่ผู้ที่ กระทำความผิดส่งผลอย่างมากต่ อการรับรู้ความเป็นจริงในสั งคมไทย การมีรัฐประหารซ้ำแล้วซ้ำเล่า การนิรโทษกรรมแก่ฆาตกร และการลดคุณค่ าของกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม โดยเฉพาะหลังปลายยุค 50 ที่สังคมไทยและระบบการเมืองถู กย่ำยี ความจริงอย่างง่ายๆกลายเป็นสิ่ งที่ไม่สามารถรับรู้ได้ และโดยส่วนใหญ่แล้วการกระทำนี้ ถูกสนับสนุนโดยสิ่งที่ผมตี ความว่าเป็นการที่รัฐใช้ศาสนาพุ ทธในทางที่ไม่ถูกต้ องในการพยายามโน้มน้าวเหยื่อที่ ถูกกระทำให้อภัยแก่คนที่ทำผิ ดและดำเนินชีวิตต่อไป ความพยายามอย่างยาวนานนั้นส่ งผลทำให้เกิดการปฏิเสธความจริ งทางประวัติศาสตร์ และก่อให้เกิดการฆ่าหมู่อีกครั้ งแล้วครั้งเล่า ประวัติศาสตร์ไทยถูกแช่เข็ งโดยการผลิตเรื่ องราวประโลมโลกของวีรบุรุษและศั ตรูที่ชั่วร้ายครั้งแล้วครั้ งเล่า จนทำให้กฎหมายหมิ่นประมาทรวมถึ งกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุ ภาพกลายเป็นสิ่งสำคัญสูงสุด และขัดแย้งกับการพัฒนาไปสู่ ระบอบประชาธิปไตยอย่างชัดเจน รัฐธรรมนูญในปี 2540 ได้ทำให้ประวัติศาสตร์ก้าวไปข้ างหน้า กลุ่มอำนาจเก่าพยายามที่จะหยุ ดการเคลื่อนไหวนี้โดยการสนับสนุ นการทำรัฐประหารในปี 2549 แต่จากหลายเหตุการณ์ที่ผ่ านมาแสดงให้เห็นว่ามีหลายคนที่ ไม่สนับสนุนหรือสามารถลืมเหตุ การณ์รัฐประหารในปี 2549ได้
อันที่จริงแล้ว จำเป็นจะต้องมีการชำระประวัติ ศาสตร์ครั้งใหญ่ การให้อภัยจะเกิดขึ้นได้เมื่ อความจริงถูกเปิดเผย มีการระบุตัวฆาตรกร และประชาชนไทยมีโอกาสที่ จะทำความเข้าใจว่าเกิดอะไรขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องกบฎดุซงญอ (กลุ่มแบ่งแยกดินแดนในจังหวั ดชายแดนภาคใต้), เหตุการณ์ฆ่าหมู่ในวันที่ 6 ตุลาคม, พฤษภาฑมิฬ, ตากใบ และในปัจจุบันคือเหตุการณ์ เมษายนและพฤษภาคม 2553 การนิรโทษกรรมไม่ทำให้การยึ ดอำนาจจากรัฐบาลโดยการทำรั ฐประหารและการฆ่าประชาชนที่ ปราศจากอาวุธเป็นเรื่องที่ถู กกฎหมาย ในประเทศอื่น พลเรือนได้พยายามที่จะผลักดั นให้มีการเปิดเผยเหตุการณ์ในอดี ตในกรณีของการละเว้นโทษให้แก่ผู ้ที่กระทำผิด กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุ ภาพและกฎหมายหมิ่นประมาทอื่นๆ ทำให้การพูดถึงเรื่องดังกล่ าวเป็นสิ่งที่ยาก แต่ไม่ได้หมายความว่าการที่ จะกระตุ้นสังคมให้เริ่ มกระบวนการชำระประวัติศาสตร์เป็ นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้
อันที่จริงแล้ว จำเป็นจะต้องมีการชำระประวัติ
9. คุณคิดว่ากฎหมายหมิ่นเกี่ยวข้ องกับการสร้างความเห็นร่ วมของคนส่วนใหญ่เกี่ยวกั บความเป็นไทยหรือไม่ อย่างไร
ในช่วงเริ่มแรกประมาณกว่ าศตวรรษที่แล้ว ได้มีความพยายามที่จะปกปิดเรื่ องการแตกต่างในเชื้อชาติ และศาสนา หลังจากนั้นยังได้มี ความพยายามที่จะปกปิดเรื่ องความแตกต่างทางด้านเศรษฐกิ จและการศึกษาเพื่อที่จะสร้ างความเป็นหนึ่งเดียวของชาติอย่ างต่อเนื่อง ความพยายามนี้เป็นความพยายามอย่ างหนักซึ่งก็ประสบความสำเร็ จในระดับหนึ่งในช่วงร้อยปีที่ผ่ านมา โครงสร้างทางประวัติศาสตร์นั้ นส่งผลทำให้เกิดความรู้สึกร่ วมในเรื่องของ “ความเป็นไทย” ตั้งแต่ช่วงยุค 60 เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ได้ฟื้นแนวคิดเรื่ องสถาบันกษัตริย์ขึ้นมาใหม่ และโดยเฉพาะในปี 2519 เป็นช่วงที่สถาบันกษัตริย์ได้ กลายเป็นสิ่งสูงสุดจนกระทั่งจึ งทุกวันนี้ อย่างน้อยที่สุด ความรักต่อสถาบันกษัตริย์ได้ กลายมาเป็นจุดศูนย์ กลางของความเป็นไทย สิ่งที่น่าเสียดายคื อกระบวนการนี้ทำให้ความเป็ นไทยนั้นคือสิ่งสูงสุด และมีการทำทุกอย่างเพื่อที่สร้ างสิ่งเหล่านั้นขึ้นมา ดังนั้นเมื่อรูปแบบของความเป็ นไทยเริ่มที่จะเสื่ อมและแตกสลายอย่างช้าๆ และดูเหมือนกับว่าสิ่งเหล่านี้ กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน ซึ่งเป็นที่น่ากลัวเพราะมีไม่กี ่อย่างที่สามารถยึดคนไทยเข้าด้ วยกัน การทำรัฐประหารคือการฉีกรั ฐธรรมนูญและทำลายระบบนิติรั ฐในทุกวิถีทาง ไม่เคยมีการสร้างประเพณีที่จะจั ดการกับความแตกต่าง สำหรับคนไทยส่วนใหญ่ ระบบกฎหมายไม่ใช่ที่พึ่งพิงสุ ดท้าย แต่ในกระบวนการที่เกิ ดความตระหนักรู้ในประวัติศาสตร์ และความจริงได้เริ่มเปิ ดเผยออกมา จึงเป็นไปได้ที่จะเกิดอัตลักษณ์ และแนวทางในการสร้างความเป็นหนึ ่งเดียวแบบใหม่
10. อะไรคือสิ่งที่น่าประหลาดใจที่ คุณค้นพบในระหว่างการค้นคว้ าหาข้อมูลในการเขียนหนังสือเล่ มนี้
สิ่งที่น่าประหลาดใจเกี่ยวกั บหนังสือเล่มนี้คือความสัมพันธ์ ของเนื้อหา ตอนที่ผมเขียนปริญญานิพนธ์ช่ วงปี 90 เพื่อนร่วมชั้นเรียนล้อผมว่ าผมเลือกหัวข้อที่ไม่เกี่ยวข้ องกับวิชาเอกของผมอย่างหัวข้ อเรื่องการหมิ่ นประมาทและกฎหมายหมิ่ นพระบรมเดชานุภาพ แม้่ตอนที่สำนักพิมพ์ Routledge ตกลงที่จะตีพิมพ์หนังสือเล่มนี้ ประเด็นเรื่องการหมิ่ นประมาทพระบรมเดชานุภาพยังไม่ค่ อยเป็นข่าวมากนัก ในเวลานั้นอดีตนายกรัฐมนตรีทั กษิณ ชินวัตรได้มีใช้กฎหมายหมิ่นบ่ อยครั้งในประวัติศาสตร์ไทย และเมื่อปลายปี 2548 ที่คดีหมิ่นได้กลายเป็นหัวข้อข่ าว และการเพิ่มขึ้นของการฟ้องร้ องคดีนี้ในแต่ละปี ทำให้เป็นเรื่องยากที่เขียนหนั งสือเล่มนี้ให้เสร็จสมบูรณ์ ผมเลือกที่จะเลือกคดีของดารณีนุ ชที่ถูกตัดสินจำคุก 18ปีเป็นประเด็นปิดท้าย และสิ่งที่น่าประหลาดใจอีกเรื่ องคือการเพิ่มขึ้นอย่ างรวดของการฟ้องร้องคดีหมิ่นเร็ วตั้งแต่ปี 2549 และองค์สิทธิมนุษยชนไทยและต่ างประเทศกลับนิ่งเฉยเกี่ยวกั บเรื่องนี้
11. หนังสือของคุณจะถูกห้ามจำหน่ ายในประเทศไทยหรือไม่?
11. หนังสือของคุณจะถูกห้ามจำหน่
ผมคิดว่าไม่นะ! ทำไมถึงต้องห้ามขาย? ผมไม่เชื่อว่าเนื้อหาในหนังสื อละเมิดกฎหมายหมิ่น หรือกฎหมายหมิ่นประมาทใดของไทย และยังไม่ขัดต่อหลักศีลธรรมอั นดีของสังคมอีกด้วย ผมเชื่อว่าหนังสือเล่มนี้ อาจจะให้มุมมองอีกมุมมองหนึ่งต่ อกลุ่มผู้นิยมกษัตริย์หัวก้ าวหน้าที่มองเห็นประโยชน์ ในระยะยาวของสถาบัน ผมได้ค้นคว้าอย่าจริงจังเพื่อที ่จะอธิบายถึงปั ญหาความแตกแยกในประเทศไทยในหนั งสือเล่มนี้ และได้แนะนำวิธีการหลายวิธีที่ จะนำพาประเทศไปสู่ความเป็ นประชาธิปไตยโดยโดยมีสถาบันกษั ตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และแน่นอนว่าหากหนังสือเล่มนี้ ถูกสั่งห้ามจำหน่ ายในประเทศไทยก็จะเป็นสิ่งที่พิ สูจน์ว่าทฤษฎีศูนย์กลางที่ว่าด้ วยเรื่องอำนาจ และยังแสดงให้เห็นว่าสั งคมไทยไม่สามารถยอนรับแนวความคิ ดที่แตกต่างได้ แต่จะได้อะไรจากการสั่งแบนหนั งสือเล่มนี้? คำตอบคือไม่ได้อะไรเลย และผมเชื่อว่ าในอนาคตของประเทศไทย (หรือผมอยากจะเรียกว่ าสยามมากกว่า) จะมีความเป็นประชาธิปไตย ที่คนไทยจะสามารถยอมรั บความแตกต่างและวิธีการใหม่ ในการทำความเข้าว่าความเป็ นพลเมืองที่ดีคืออะไร
Read more from สิทธิมนุษยชน
"New Book Releases" http://www.lisp4.facebook.com/new.book.releases
Interview on Lese Majeste with David Streckfuss http://bit.ly/9GrjoFDeliberative Democracy is a way out for Thailand | Prachatai English http://t.co/rZ3PtLF
No comments:
Post a Comment