ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพและร่วมงาน "ไหว้สาพระญามังรายสร้างแป๋งเมืองเจียงใหม่ครบ ๗๑๗ ปี"
กำหนดการงานไหว้สา "พระญามังรายสร้างแป๋งเมืองเจียงใหม่ ครบ ๗๑๗ ปี" วันศุกร์ที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๕
เวลา ๐๗.๓๐ น. ไหว้พระรับศีล ถวายไทยทาน พระ ๙ รูป ณ วัดเชียงมั่น
เวลา ๐๘.๐๐ น. ตั้งขบวนเครื่องสักการะ ณ วัดเชียงมั่น
เวลา ๐๘.๑๕ น. เคลื่อนขบวนเครื่องสักการะไปยังหอพระญามังราย หลังอาคารเจริญมอเตอร์ ถนนพระปกเกล้า (ใกล้วัดดวงดี)
เวลา ๐๙.๐๐ น. ฟ้อนเล็บต้อนรับขบวนเครื่องสักการะ ณ หอพระญามังราย
เวลา ๐๙.๑๕ น. นำไหว้สา โดย ดร.เจ้าแม่ดวงเดือน ณ เชียงใหม่
กล่าวโองการไหว้สา โดย ลุงหนานศรีเลา เกษพรหม สักการะด้วยการแสดง ตีกลองชัยมงคล ฟ้อนดาบ ฟ้อนหอก ฟ้อนเจิง ฯลฯ
เวลา ๐๙.๔๕ น. ประกาศเจตนารมณ์เกี่ยวกับเมืองเชียงใหม่ขององค์กรต่างๆ
(แต่ละองค์กรสามารถเตรียมประกาศเจตนารมณ์ขององค์กรของตนเอง ความยาวไม่เกิน 1 หน้า โดยส่งมาล่วงหน้าให้ฝ่ายประสานงาน หรือนำไปแจกจ่ายในงาน)
เวลา ๑๐.๓๐ น. สิ้นสุดรายการ
"พระญามังรายสร้างแป๋งเมืองเจียงใหม่ ครบ ๗๑๗ ปี" การก่อสร้างเมืองเชียงใหม่ เนื้อความในตำนานสิบห้าราชวงศ์กล่าวถึงการสร้างแปลงเมืองว่า พระองค์ได้โปรดให้ก่อสร้างปราสาทราชมณเฑียร หอนอน ราชวัง โรงคัล ท้องพระคลัง ปราการกำแพงเมือง และให้ขุดคูเมืองล้อมรอบทั้ง ๔ ด้าน เสร็จในปี จ.ศ.๖๕๘ (พ.ศ.๑๘๓๙) ปีรวายสัน เดือน ๘ เพ็ง เม็งวัน ๕ ฤกษ์ ๑๖ ตัว ตรงกับความในจารึก วัดเชียงมั่น พ.ศ.๒๑๒๔ (จารึกหลักที่ ๗๖ วัดเชียงมั่น จังหวัดเชียงใหม่) ที่ระบุวันสร้างเมืองเชียงใหม่ความว่า
“…ศักราช ๖๕๘ ปีรวายสัน เดือนวิสาขะ ออก ๘ ค่ำ วัน ๕ วันไทย เมิงเปล้า ยามแตรรุ่งแล้ว ๒ ลูกนาที ปลาย ๒ บาทน้ำ ลัคนาเสวยนวางค์พฤหัสบดี ในมีนราศี พญามังรายเจ้า และพญางำเมือง พญาร่วง ทั้งสามคน ตั้งหอนอนที่ชัยภูมิ ราชมนเทียร ขุดคือเมือง ก่อตรีบูรทั้งสี่ด้าน…”
From the album:Timeline Photos
By CM77 97.5 MHz วิทยุล้านนา
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=566251170062361&set=a.157207610966721.31022.157007057653443
กำหนดการงานไหว้สา "พระญามังรายสร้างแป๋งเมืองเจียงใหม่ ครบ ๗๑๗ ปี" วันศุกร์ที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๕
เวลา ๐๗.๓๐ น. ไหว้พระรับศีล ถวายไทยทาน พระ ๙ รูป ณ วัดเชียงมั่น
เวลา ๐๘.๐๐ น. ตั้งขบวนเครื่องสักการะ ณ วัดเชียงมั่น
เวลา ๐๘.๑๕ น. เคลื่อนขบวนเครื่องสักการะไปยังหอพระญามังราย หลังอาคารเจริญมอเตอร์ ถนนพระปกเกล้า (ใกล้วัดดวงดี)
เวลา ๐๙.๐๐ น. ฟ้อนเล็บต้อนรับขบวนเครื่องสักการะ ณ หอพระญามังราย
เวลา ๐๙.๑๕ น. นำไหว้สา โดย ดร.เจ้าแม่ดวงเดือน ณ เชียงใหม่
กล่าวโองการไหว้สา โดย ลุงหนานศรีเลา เกษพรหม สักการะด้วยการแสดง ตีกลองชัยมงคล ฟ้อนดาบ ฟ้อนหอก ฟ้อนเจิง ฯลฯ
เวลา ๐๙.๔๕ น. ประกาศเจตนารมณ์เกี่ยวกับเมืองเชียงใหม่ขององค์กรต่างๆ
(แต่ละองค์กรสามารถเตรียมประกาศเจตนารมณ์ขององค์กรของตนเอง ความยาวไม่เกิน 1 หน้า โดยส่งมาล่วงหน้าให้ฝ่ายประสานงาน หรือนำไปแจกจ่ายในงาน)
เวลา ๑๐.๓๐ น. สิ้นสุดรายการ
"พระญามังรายสร้างแป๋งเมืองเจียงใหม่ ครบ ๗๑๗ ปี" การก่อสร้างเมืองเชียงใหม่ เนื้อความในตำนานสิบห้าราชวงศ์กล่าวถึงการสร้างแปลงเมืองว่า พระองค์ได้โปรดให้ก่อสร้างปราสาทราชมณเฑียร หอนอน ราชวัง โรงคัล ท้องพระคลัง ปราการกำแพงเมือง และให้ขุดคูเมืองล้อมรอบทั้ง ๔ ด้าน เสร็จในปี จ.ศ.๖๕๘ (พ.ศ.๑๘๓๙) ปีรวายสัน เดือน ๘ เพ็ง เม็งวัน ๕ ฤกษ์ ๑๖ ตัว ตรงกับความในจารึก วัดเชียงมั่น พ.ศ.๒๑๒๔ (จารึกหลักที่ ๗๖ วัดเชียงมั่น จังหวัดเชียงใหม่) ที่ระบุวันสร้างเมืองเชียงใหม่ความว่า
“…ศักราช ๖๕๘ ปีรวายสัน เดือนวิสาขะ ออก ๘ ค่ำ วัน ๕ วันไทย เมิงเปล้า ยามแตรรุ่งแล้ว ๒ ลูกนาที ปลาย ๒ บาทน้ำ ลัคนาเสวยนวางค์พฤหัสบดี ในมีนราศี พญามังรายเจ้า และพญางำเมือง พญาร่วง ทั้งสามคน ตั้งหอนอนที่ชัยภูมิ ราชมนเทียร ขุดคือเมือง ก่อตรีบูรทั้งสี่ด้าน…”
From the album:Timeline Photos
By CM77 97.5 MHz วิทยุล้านนา
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=566251170062361&set=a.157207610966721.31022.157007057653443
นักวิชาการติง ป้ายประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม "วางสวย ไหว้สา ผญามังราย" ไม่ถูกต้องเหมาะสม..วอนปรึกษาผู้รู้และกลับไปแก้ไขให้ถูกต้องก่อนเผยแพร่
ศ.ดร.ธเนศวร์ เจริญเมือง ระบุไว้ในเฟชบุ๊คส่วนตัว Tanet C. Chiang Mai ว่า "คำว่า พระญา เป็นภาษามอญครับ แปลว่ากษัตริย์ ล้านนาไปเอาคำนี้มา สุโขทัยก็ไปเอาคำนี้มา แต่เราล้านนาไม่เคยมีตัวร เรือ เราจึงเอาคำว่า พระ คือ พร (และปร) มาแผลงเป็น ผ คนล้านนาจึงอ่าน พระญา ว่า ผะญา แต่่อยุธยาไปรุกและโจมตีเขมรหลายครั้ง ไปเห็นความแข็งแกร่งของวัฒนธรรมเขมร จึงรับเอา ร เรือมาเต็มที่ ลั่นลิ้นจนเจ็บลิ้น ส่งผลให้สยาม-ล้านนา-ลาวต่างกัน เพราะมีแต่สยามที่ไปเอาตัว ร เรือ มาใช้ แต่ล้านนากับลาว ไม่ใช่คำนี้เลย ส่วนที่มีใครเขียนคำว่า ผญามังราย นั้นก็ผิดนะครับ เพราะ ผญา (อ่านว่า ผะหญา) แปลว่าปัญญา เป็นคนละความหมายกับคำว่า พระญา ครับ"
ดร.เพ็ญสุภา สุขคตะ ใจอินทร์ ระบุไว้ในเฟชบุ๊คส่วนตัว
Pensupa Sukkata Jai Inn ว่า "ขอโทษนะคะ สรุปแล้วที่ปราชญ์ล้านนาพยายามรณรงค์ให้ใช้คำว่า "พระญา" กันมาแทบเลือดตากระเด็น ตั้งแต่ปี 2550 ที่เราอุตส่่าห์จัดสัมมนา 600 ปีติโลกราชะ นั้น ไปๆ มาๆ ไม่ใช้คำว่า "พระญา" กันแล้วหรือคะ จู่ๆ ก็จะใช้ "ผญา" แทนแล้วหรือเช่นไร ไม่กลัวว่าคนทั่วไปจะอ่านแบบอักษรนำ กลายเป็น "ผะหยา" ไปดอกหรือคะ"
และยังพิมพ์ข้อความระบุอีกว่า "ไม่เห็นใจดวงวิญญาณของท่าน ศ.ดร.อุดม รุ่งเรืองศรี กันบ้่างหรือไรคะ ท่านเป็นตัวตั้วตัวตีกับ อ.เกริก อัครชิโนเรศ ที่พยายามรณรงค์ ให้ใช้ "พระญา" แทน พญา หรือพระยา จนกระทั่งนักวิชาการมีมติเห็นชอบ แล้วอะไรกันนี่ จู่ๆ ก็มาเขียน "ผญา" กันอีก นึกจะเขียนก็เขียน ขอทราบเหตุผลและรากเหง้า ขอดูเชิงอรรถอ้างอิงหน่อย ว่าไปเอามาจากเอกสารดั้งเดิมฉบับไหนหรือที่ใช้คำว่า "ผญา" เจ็บกระดองใจแต๊ๆ"
รวมถึงทางเรา CM77.COM ก็ได้แจ้งไปก่อนหน้านั้นแล้วเมื่อวันที่ 27 มีนาคม ระบุไปยังผู้จัดทำป้ายและผู้จัดงานว่า "ยะหยังทางผู้จัดงานถึงพิมพ์พระนามพระองค์ว่า "ผญามังราย"เจ้า ถ้าพิมพ์ผิดช่วยแก้ได้ก่ กาว่าทางผู้จัดงานมีความหมายแฝงอื่นใดในก๋านสื่อออกมาในพระนามของ "พญามังราย" เป๋นผญามังราย" หนะเจ้า / รวมไปถึงกำว่า "วางสวย" ..... อันนี้กำไทยสูนเมือง กำมันดูงาม แต่อ่านแล้วมันจะใดก่บะฮู้แต๊ะเจ้า เอาเป๋น "ยอสวย ไหว้สา พญามังราย" ก่เปิงดีหนาเจ้า) ...วอนปี้น้องช่วยกันแชร์แล้วสะกิดบอกไปยังทางผู้จัดงานและผู้ออกแบบป้ายโตยเน่อเจ้า"
สุดท้ายเราได้รับข่าวแจ้งมาจาก น้องเต็นท์ ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี ว่า "ตอนนี้ผู้จัดทำป้ายไวนิลติดไปทั่วเมืองแล้วครับ เศร้าใจกับการไม่ปรึกษาผู้รู้ก่อน พอชี้แจงไปก็ไม่ตอบกลับใดๆ"
From the album:Timeline Photos
By CM77 97.5 MHz วิทยุล้านนา
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=566253900062088&set=a.157207610966721.31022.157007057653443
ศ.ดร.ธเนศวร์ เจริญเมือง ระบุไว้ในเฟชบุ๊คส่วนตัว Tanet C. Chiang Mai ว่า "คำว่า พระญา เป็นภาษามอญครับ แปลว่ากษัตริย์ ล้านนาไปเอาคำนี้มา สุโขทัยก็ไปเอาคำนี้มา แต่เราล้านนาไม่เคยมีตัวร เรือ เราจึงเอาคำว่า พระ คือ พร (และปร) มาแผลงเป็น ผ คนล้านนาจึงอ่าน พระญา ว่า ผะญา แต่่อยุธยาไปรุกและโจมตีเขมรหลายครั้ง ไปเห็นความแข็งแกร่งของวัฒนธรรมเขมร จึงรับเอา ร เรือมาเต็มที่ ลั่นลิ้นจนเจ็บลิ้น ส่งผลให้สยาม-ล้านนา-ลาวต่างกัน เพราะมีแต่สยามที่ไปเอาตัว ร เรือ มาใช้ แต่ล้านนากับลาว ไม่ใช่คำนี้เลย ส่วนที่มีใครเขียนคำว่า ผญามังราย นั้นก็ผิดนะครับ เพราะ ผญา (อ่านว่า ผะหญา) แปลว่าปัญญา เป็นคนละความหมายกับคำว่า พระญา ครับ"
ดร.เพ็ญสุภา สุขคตะ ใจอินทร์ ระบุไว้ในเฟชบุ๊คส่วนตัว
Pensupa Sukkata Jai Inn ว่า "ขอโทษนะคะ สรุปแล้วที่ปราชญ์ล้านนาพยายามรณรงค์ให้ใช้คำว่า "พระญา" กันมาแทบเลือดตากระเด็น ตั้งแต่ปี 2550 ที่เราอุตส่่าห์จัดสัมมนา 600 ปีติโลกราชะ นั้น ไปๆ มาๆ ไม่ใช้คำว่า "พระญา" กันแล้วหรือคะ จู่ๆ ก็จะใช้ "ผญา" แทนแล้วหรือเช่นไร ไม่กลัวว่าคนทั่วไปจะอ่านแบบอักษรนำ กลายเป็น "ผะหยา" ไปดอกหรือคะ"
และยังพิมพ์ข้อความระบุอีกว่า "ไม่เห็นใจดวงวิญญาณของท่าน ศ.ดร.อุดม รุ่งเรืองศรี กันบ้่างหรือไรคะ ท่านเป็นตัวตั้วตัวตีกับ อ.เกริก อัครชิโนเรศ ที่พยายามรณรงค์ ให้ใช้ "พระญา" แทน พญา หรือพระยา จนกระทั่งนักวิชาการมีมติเห็นชอบ แล้วอะไรกันนี่ จู่ๆ ก็มาเขียน "ผญา" กันอีก นึกจะเขียนก็เขียน ขอทราบเหตุผลและรากเหง้า ขอดูเชิงอรรถอ้างอิงหน่อย ว่าไปเอามาจากเอกสารดั้งเดิมฉบับไหนหรือที่ใช้คำว่า "ผญา" เจ็บกระดองใจแต๊ๆ"
รวมถึงทางเรา CM77.COM ก็ได้แจ้งไปก่อนหน้านั้นแล้วเมื่อวันที่ 27 มีนาคม ระบุไปยังผู้จัดทำป้ายและผู้จัดงานว่า "ยะหยังทางผู้จัดงานถึงพิมพ์พระนามพระองค์ว่า "ผญามังราย"เจ้า ถ้าพิมพ์ผิดช่วยแก้ได้ก่ กาว่าทางผู้จัดงานมีความหมายแฝงอื่นใดในก๋านสื่อออกมาในพระนามของ "พญามังราย" เป๋นผญามังราย" หนะเจ้า / รวมไปถึงกำว่า "วางสวย" ..... อันนี้กำไทยสูนเมือง กำมันดูงาม แต่อ่านแล้วมันจะใดก่บะฮู้แต๊ะเจ้า เอาเป๋น "ยอสวย ไหว้สา พญามังราย" ก่เปิงดีหนาเจ้า) ...วอนปี้น้องช่วยกันแชร์แล้วสะกิดบอกไปยังทางผู้จัดงานและผู้ออกแบบป้ายโตยเน่อเจ้า"
สุดท้ายเราได้รับข่าวแจ้งมาจาก น้องเต็นท์ ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี ว่า "ตอนนี้ผู้จัดทำป้ายไวนิลติดไปทั่วเมืองแล้วครับ เศร้าใจกับการไม่ปรึกษาผู้รู้ก่อน พอชี้แจงไปก็ไม่ตอบกลับใดๆ"
From the album:Timeline Photos
By CM77 97.5 MHz วิทยุล้านนา
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=566253900062088&set=a.157207610966721.31022.157007057653443
ฮ่วมฉลอง 717 ปี๋กั๋นหน่อยครับ :)
วันที่ 12 เมษายนนี้ จะไปลืมไปฮ่วมงานตี้ข่วงอนุสาวรีย์สามกษัตริย์เน่อครับ
From the album:Timeline Photos
By ที่นี่ล้านนาดอทคอม (teeneelanna.com)
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=583048765046981&set=a.159499700735225.34464.159477510737444
วันที่ 12 เมษายนนี้ จะไปลืมไปฮ่วมงานตี้ข่วงอนุสาวรีย์สามกษัตริย์เน่อครับ
From the album:Timeline Photos
By ที่นี่ล้านนาดอทคอม (teeneelanna.com)
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=583048765046981&set=a.159499700735225.34464.159477510737444
วันศุกร์ ที่ 12 เมษายน พ.ศ.2556 เวลา 08.00-10.30 น. ณ ข่วงอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ กิจกรรม : พิธีสักการะ วางสวยไหว้สา ผญามังราย การแสดงสะล้อ ซอ ซึง ฟ้อนถวายและการตีกลองสะบัดชัย
กำหนดการ - วันศุกร์ที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2556 ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 5 เวลา 07.30 น. ไหว้พระรับศีล ถวายไทยทาน พระ 9 รูป ณ วัดเชียงมั่น เวลา 08.00 น. ตั้งขบวนเครื่องสักการะ ณ วัดเชียงมั่น เวลา 08.15 น. เคลื่อนขบวนเครื่องสักการะไปยังหอพระญามังราย หลังอาคารเจริญมอเตอร์ ถนนพระปกเกล้า (ใกล้วัดดวงดี)
From the album:Timeline Photos
By CM77 97.5 MHz วิทยุล้านนา
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=565057390181739&set=a.157207610966721.31022.157007057653443
กำหนดการ - วันศุกร์ที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2556 ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 5 เวลา 07.30 น. ไหว้พระรับศีล ถวายไทยทาน พระ 9 รูป ณ วัดเชียงมั่น เวลา 08.00 น. ตั้งขบวนเครื่องสักการะ ณ วัดเชียงมั่น เวลา 08.15 น. เคลื่อนขบวนเครื่องสักการะไปยังหอพระญามังราย หลังอาคารเจริญมอเตอร์ ถนนพระปกเกล้า (ใกล้วัดดวงดี)
From the album:Timeline Photos
By CM77 97.5 MHz วิทยุล้านนา
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=565057390181739&set=a.157207610966721.31022.157007057653443
KP Page
13:34 (edited) - Public
วันสถาปนาเมืองเชียงใหม่ -
12 เมษายน พ.ศ. 1839 วันสถาปนาเมือง เชียงใหม่ โดย พ่อขุนเม็งราย พ่อขุนรามคำแหง และ พ่อขุนงำเมือง ทรงร่วมกันก่อสร้างเมืองใหม่ขึ้น ณ ที่ราบลุ่มแม่น้ำปิง บริเวณเชิงดอยสุเทพ เพื่อให้เป็นศูนย์กลางแห่งอาณาจักรล้านนา จากนั้นได้ทรงขนานนามว่า "นพบุรีศรีนครพิงค์ เชียงใหม่" ในอดีตเชียงใหม่มีฐานะเป็นนครรัฐอิสระ ปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์มังราย
ในอดีตเชียงใหม่มีฐานะเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรนครรัฐอิสระ ชื่อว่า อาณาจักรล้านนา ซึ่งปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์มังราย ประมาณ 261 ปี (ระหว่าง พ.ศ. 1839-2101) กระทั่งในปี พ.ศ. 2101 เชียงใหม่ได้เสียเมืองให้แก่พระเจ้าบุเรงนองแห่งพม่า และได้อยู่ภายใต้การปกครองของพม่ามานานกว่าสองร้อยปี จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงได้มีการทำสงครามเพื่อขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงใหม่และเชียงแสนได้สำเร็จ โดยการนำของเจ้ากาวิละและพระยาจ่าบ้าน
หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเจ้ากาวิละขึ้นเป็นพระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ ให้ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือในฐานะประเทศราชของกรุงรัตนโกสินร์ และราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน) ซึ่งเป็นเชื้อสายของพระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ ก็ได้ปกครองเมืองเชียงใหม่และหัวเมืองต่าง ๆ สืบต่อมา และเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น "รัตนติงสาอภินวบุรีเชียงใหม่"
ในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการปฏิรูปการปกครองหัวเมืองประเทศราช โดยมีการจัดตั้งการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล เรียกว่า "มณฑลพายัพ" ต่อมาเชียงใหม่ได้มีการปรับปรุงการปกครองและยกฐานะขึ้นเป็น "จังหวัด" ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2476 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึงปัจจุบัน
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=583048765046981&set=a.159499700735225.34464.159477510737444
12 เมษายน พ.ศ. 1839 วันสถาปนาเมือง เชียงใหม่ โดย พ่อขุนเม็งราย พ่อขุนรามคำแหง และ พ่อขุนงำเมือง ทรงร่วมกันก่อสร้างเมืองใหม่ขึ้น ณ ที่ราบลุ่มแม่น้ำปิง บริเวณเชิงดอยสุเทพ เพื่อให้เป็นศูนย์กลางแห่งอาณาจักรล้านนา จากนั้นได้ทรงขนานนามว่า "นพบุรีศรีนครพิงค์ เชียงใหม่" ในอดีตเชียงใหม่มีฐานะเป็นนครรัฐอิสระ ปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์มังราย
ในอดีตเชียงใหม่มีฐานะเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรนครรัฐอิสระ ชื่อว่า อาณาจักรล้านนา ซึ่งปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์มังราย ประมาณ 261 ปี (ระหว่าง พ.ศ. 1839-2101) กระทั่งในปี พ.ศ. 2101 เชียงใหม่ได้เสียเมืองให้แก่พระเจ้าบุเรงนองแห่งพม่า และได้อยู่ภายใต้การปกครองของพม่ามานานกว่าสองร้อยปี จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงได้มีการทำสงครามเพื่อขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงใหม่และเชียงแสนได้สำเร็จ โดยการนำของเจ้ากาวิละและพระยาจ่าบ้าน
หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเจ้ากาวิละขึ้นเป็นพระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ ให้ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือในฐานะประเทศราชของกรุงรัตนโกสินร์ และราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน) ซึ่งเป็นเชื้อสายของพระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ ก็ได้ปกครองเมืองเชียงใหม่และหัวเมืองต่าง ๆ สืบต่อมา และเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น "รัตนติงสาอภินวบุรีเชียงใหม่"
ในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการปฏิรูปการปกครองหัวเมืองประเทศราช โดยมีการจัดตั้งการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล เรียกว่า "มณฑลพายัพ" ต่อมาเชียงใหม่ได้มีการปรับปรุงการปกครองและยกฐานะขึ้นเป็น "จังหวัด" ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2476 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึงปัจจุบัน
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=583048765046981&set=a.159499700735225.34464.159477510737444
วันสถาปนาเมืองเชียงใหม่ »
รวมเหตุการณ์ วันนี้ในอดีต เรื่องราวสำคัญในอดีต คลังความรู้เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ บันทึกเรื่องราวสำคัญ เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นประจำวันตั้งแต่ปัจจุบันถึงอดีต
KP Page
6 Apr 2013 (edited) - Public
Bloggang.com : : sapcn : ปั่นจักรยานท่องเที่ยวเชียงใหม่ -> ดอยสุเทพ ดอยปุย บ้านขุนช่างเคี่ยน ห้วยตึงเฒ่า -
http://www.thaimtb.com/forum/viewtopic.php?f=56&t=302677
http://www.thaimtb.com/forum/viewtopic.php?f=56&t=426533
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=sapcn&month=03-2011&date=12&group=1&gblog=18
http://www.thaimtb.com/forum/viewtopic.php?f=56&t=302677
http://www.thaimtb.com/forum/viewtopic.php?f=56&t=426533
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=sapcn&month=03-2011&date=12&group=1&gblog=18
Bloggang.com : : sapcn : ปั่นจักรยานท่องเที่ยวเชียงใหม่ ---> ดอยสุเทพ ดอยปุย บ้านขุนช่างเคี่ยน ห้วยตึงเฒ่า »
1, 2, 3, 4, 5. 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12. 13, 14, 15, 16, 17, 18, 19. 20, 21, 22, 23, 24, 25, 26. 27, 28, 29, 30, 31. 12 มีนาคม 2554. ปั่นจักรยานท่องเที่ยวเชียงใหม่ ---> ดอยสุเทพ ดอยปุย บ้านขุนช่างเคี่...
KP Page
6 Apr 2013 - Public
เครือข่ายชมรมจักรยานเชียงใหม่ - เส้นทางท่องเที่ยวด้วยจักรยาน -
http://www.cmcycling.org/index.php?option=com_content&task=view&id=203&Itemid=90
http://www.cmcycling.org/index.php?option=com_content&task=view&id=203&Itemid=90
No comments:
Post a Comment